ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
วันที่ | 24–29 มีนาคม พ.ศ. 2565 |
ทีม | 10 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 10 |
จำนวนประตู | 16 (1.6 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Azzedine Ounahi Tarik Tissoudali (คนละ 2 ประตู) |
การแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3 เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปแอฟริกาเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันรอบสุดท้ายในฟุตบอลโลก 2022 สำหรับทีมชาติที่เป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (CAF) ได้รับโควตาทั้งหมด 10 ทีม แข่งขันในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2565
รูปแบบ
[แก้]ผู้ชนะทั้งสิบกลุ่มจากรอบที่สองจะถูกจับสลากเป็นห้าสายแข่งแบบเหย้าและเยือน ผู้ชนะการแข่งขันแต่ละคู่จะได้สิทธิ์ไปแข่งขันฟุตบอลโลก 2022
ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
[แก้]กลุ่ม | ผู้ชนะ |
---|---|
เอ | แอลจีเรีย |
บี | ตูนิเซีย |
ซี | ไนจีเรีย |
ดี | แคเมอรูน |
อี | มาลี |
เอฟ | อียิปต์ |
จี | กานา |
เอช | เซเนกัล |
ไอ | โมร็อกโก |
เจ | สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก |
การจับสลากและทีมวาง
[แก้]การจับสลากประกบคู่ในรอบที่สามจัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 2022 ที่เมืองดูอาลา ประเทศแคเมอรูน โดยเริ่มขึ้นตั้งแต่เวลา 16:00 (UTC+1) การจัดอันดับทีมวางจะเรียงตามอันดับโลกฟีฟ่าเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2021 (แสดงในวงเล็บ)[1][2]
โถ 1 | โถ 2 |
---|---|
เซเนกัล (20) โมร็อกโก (28) ตูนิเซีย (29) แอลจีเรีย (32) ไนจีเรีย (36) |
อียิปต์ (45) แคเมอรูน (50) กานา (52) มาลี (53) สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (64) |
สรุปการแข่งขัน
[แก้]ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
อียิปต์ | 1–1 (ดวลลูกโทษ 1–3) |
เซเนกัล | 1–0 | 0–1 (ต่อเวลา) |
แคเมอรูน | 2–2 (ย) | แอลจีเรีย | 0–1 | 2–1 (ต่อเวลา) |
กานา | 1–1 (ย) | ไนจีเรีย | 0–0 | 1–1 |
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก | 2–5 | โมร็อกโก | 1–1 | 1–4 |
มาลี | 0–1 | ตูนิเซีย | 0–1 | 0–0
|
นัด
[แก้]เซเนกัล | 1–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | อียิปต์ |
---|---|---|
|
รายงาน | |
ลูกโทษ | ||
3–1 |
รวมผลสองนัด เสมอ 1–1. เซเนกัล ชนะลูกโทษ 3–1 และได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลก 2022.
แอลจีเรีย | 1–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | แคเมอรูน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
รวมผลสองนัด เสมอ 2–2. แคเมอรูน ชนะด้วยประตูทีมเยือนและได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลก 2022.
ไนจีเรีย | 1–1 | กานา |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
รวมผลสองนัด เสมอ 1–1. กานา ชนะด้วยประตูทีมเยือนและได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลก 2022.
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก | 1–1 | โมร็อกโก |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
โมร็อกโก | 4–1 | สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก |
---|---|---|
รายงาน |
|
รวมผลสองนัด โมร็อกโก ชนะ 5–2 และได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลก 2022.
ตูนิเซีย | 0–0 | มาลี |
---|---|---|
รายงาน |
รวมผลสองนัด ตูนิเซีย ชนะ 1–0 และได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลก 2022.
ผู้ทำประตู
[แก้]มีการทำประตู 16 ประตู จากการแข่งขัน 10 นัด เฉลี่ย 1.6 ประตูต่อนัด
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- มุสซา ซิสซาโก (ในนัดที่พบกับ ตูนิเซีย)
- ซาลียู ซิสส์ (ในนัดที่พบกับ อียิปต์)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Dates for FIFA World Cup Qatar 2022 African Qualifiers and TotalEnergies Africa Cup of Nations 2023 draws announced". Confederation of African Football. 8 January 2022. สืบค้นเมื่อ 14 January 2022.
- ↑ "Men's Ranking". Fédération Internationale de Football Association. 19 November 2021. สืบค้นเมื่อ 14 January 2022.
- ↑ "Security heightened at Cairo Stadium ahead of Egypt-Senegal match on Friday". Egypt Today. Egypt Today staff. 25 March 2022.
- ↑ "Algérie – Cameroun : Rien n'est encore joué malgré une précieuse victoire des Verts au Japoma Stadium". Algerie.Football. 26 March 2022.
- ↑ "40,000-capacity Baba Yara Stadium sold out for Super Eagles". Score Nigeria. Score Nigeria Reporter. 25 March 2022.
- ↑ "Mondial 2022 : RD Congo- Maroc se jouera au stade des Martyrs et avec du public". Sport News Africa. 4 February 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-10. สืบค้นเมื่อ 2022-03-30.
- ↑ "Barrages Mondial 2022: le Mali se saborde devant la Tunisie et voit le Qatar s'éloigner". 25 March 2022.