ข้ามไปเนื้อหา

บามาโก

พิกัด: 12°38′21″N 8°0′10″W / 12.63917°N 8.00278°W / 12.63917; -8.00278
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บามาโก

เมืองหลวง
ตราอย่างเป็นทางการของบามาโก
ตรา
บามาโกตั้งอยู่ในประเทศมาลี
บามาโก
บามาโก
ที่ตั้งของบามาโก
พิกัด: 12°38′21″N 8°0′10″W / 12.63917°N 8.00278°W / 12.63917; -8.00278
ประเทศ มาลี
ภูมิภาคเขตเมืองหลวงบามาโก
Cercleบามาโก
เขตการปกครอง
การปกครอง
 • ประเภทเขตเมืองหลวง
 • Maire du DistrictAdama Sangaré[5]
พื้นที่
 • เมืองหลวง245.0 ตร.กม. (94.6 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล17,141.61 ตร.กม. (6,618.41 ตร.ไมล์)
ความสูง[6]350 เมตร (1,150 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน ค.ศ. 2009)
 • เมืองหลวง2,713,000[1] คน
 • ความหนาแน่น7,384.11 คน/ตร.กม. (19,124.8 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,757,234 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล160.85 คน/ตร.กม. (416.6 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC (เขตเวลา)
รหัส ISO 3166ML-BKO
เอชดีไอ (2017)

บามาโก (ฝรั่งเศส: Bamako; บัมบารา: ߓߡߊ߬ߞߐ߬ Bàmakɔ̌; Fula: 𞤄𞤢𞤥𞤢𞤳𞤮 Bamako) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศมาลี อยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ที่ริมฝั่งแม่น้ำไนเจอร์ ในอดีตเคยเป็นแหล่งผลิตและค้าทองคำให้กับอาณาจักรต่าง ๆ ที่อยู่รายรอบแม่น้ำไนเจอร์ แต่ปัจจุบันเป็นเมืองท่าริมแม่น้ำ ตลอดจนศูนย์กลางการขนส่งทางเรือและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ใน ค.ศ. 2009 นครนี้มีประชากร 1,810,366 คน และใน ค.ศ. 2022 มีประชากรประมาณ 2.81 ล้านคน[8]

นอกจากนี้บามาโกยังติดอันดับเมืองโตเร็วที่สุดในทวีปแอฟริกาและเป็น “เมืองโตเร็วที่สุดในโลก” (The world’s fastest growing cities)[9] เป็นอันดับที่ 6

บามาโกเป็นศูนย์กลางการบริหารประเทศ ท่าเรือแม่น้ำของบามาโกตั้งอยู่ในย่านกูลีกอโรใกล้กับศูนย์กลางการค้าและการประชุมระดับภูมิภาคที่สำคัญ บามาโกเป็นเจ็ดที่ใหญ่ที่สุดในแอฟริกาตะวันตกใจกลางเมืองหลังจากเลกอส, อาบิดจาน, คาโน, อีบาดัน, ดาการ์ และอักกรา สินค้าที่ผลิตในประเทศ ได้แก่ สิ่งทอ เนื้อสัตว์แปรรูป และสินค้าจากโลหะ

คำว่า บามาโก (Bamako) มาจากภาษาบัมบารา (ߓߡߊ߬ߞߐ߬ Bàmakɔ̌) แปลว่า แม่น้ำจระเข้ (Crocodile River)[10]

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของบามาโก (ค.ศ. 1950–2000, สูงสุด ค.ศ. 1949–2015)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 38.9
(102)
42.8
(109)
43.9
(111)
43.5
(110.3)
45.0
(113)
42.0
(107.6)
40.0
(104)
37.8
(100)
38.4
(101.1)
38.9
(102)
42.0
(107.6)
40.0
(104)
45.0
(113)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 33.4
(92.1)
36.4
(97.5)
38.5
(101.3)
39.6
(103.3)
38.5
(101.3)
35.3
(95.5)
32.1
(89.8)
31.1
(88)
32.2
(90)
34.6
(94.3)
35.3
(95.5)
33.4
(92.1)
35.0
(95)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 17.0
(62.6)
19.9
(67.8)
22.9
(73.2)
25.2
(77.4)
25.4
(77.7)
23.6
(74.5)
22.2
(72)
21.8
(71.2)
21.6
(70.9)
21.3
(70.3)
18.4
(65.1)
16.8
(62.2)
21.3
(70.3)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 8.7
(47.7)
9.0
(48.2)
12.0
(53.6)
15.8
(60.4)
17.8
(64)
16.1
(61)
17.5
(63.5)
17.2
(63)
18.0
(64.4)
14.7
(58.5)
10.8
(51.4)
6.0
(42.8)
6.0
(42.8)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 0.6
(0.024)
0.7
(0.028)
2.1
(0.083)
19.7
(0.776)
54.1
(2.13)
132.1
(5.201)
224.1
(8.823)
290.2
(11.425)
195.9
(7.713)
66.1
(2.602)
5.2
(0.205)
0.5
(0.02)
991.3
(39.028)
ความชื้นร้อยละ 24 20 22 33 50 67 77 81 78 65 38 27 49
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย (≥ 0.1 mm) 0.2 0.2 0.6 3.3 6.3 7.7 16.7 17.9 14.7 5.7 0.3 0.1 73.7
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 277.4 253.0 268.1 230.4 242.6 233.6 216.6 218.3 221.7 253.7 270.7 268.6 2,954.7
แหล่งที่มา 1: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก[11]
แหล่งที่มา 2: NOAA (ดวงอาทิตย์ 1961–1990),[12] Deutscher Wetterdienst (สูงสุดและความชื้น)[13]

เมืองพี่น้อง

[แก้]

บามาโกเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[14]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Bamako, Mali Metro Area Population 1950-2021". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 January 2021. สืบค้นเมื่อ 15 January 2021.
  2. 2.0 2.1 [1][ลิงก์เสีย]
  3. 3.0 3.1 [2][ลิงก์เสีย]
  4. 4.0 4.1 [3][ลิงก์เสีย]
  5. "Coupe du Maire du District : Le Stade reçoit son trophée" เก็บถาวร 13 มิถุนายน 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. L'Essor, 24 September 2008
  6. "Population of Bamako, Mali". Mongabay.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 May 2015. สืบค้นเมื่อ 25 May 2015.
  7. "Sub-national HDI – Area Database – Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-09-13.
  8. "World Population Review: Bamako". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 May 2021. สืบค้นเมื่อ 3 May 2021.
  9. The world’s fastest growing cities and urban areas from 2006 to 2020
  10. Rosenthal, A.M. (3 September 1960). "SUDANESE IMPOSE SENEGAL BOYCOTT; Traders Told to Use Port in Ivory Coast – Move Is Aimed at Dakar's Trade". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 July 2018. สืบค้นเมื่อ 22 July 2018.
  11. "World Weather Information Service – Bamako". World Meteorological Organization. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 March 2013. สืบค้นเมื่อ 20 June 2013.
  12. "BKO–s (Bamako) Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 10 September 2015.
  13. "Klimatafel von Bamako (Flughafen) / Mali" (PDF). Baseline climate means (1961–1990) from stations all over the world (ภาษาเยอรมัน). Deutscher Wetterdienst. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 June 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2019.
  14. "Villes jumelées". bamako.ml (ภาษาฝรั่งเศส). Bamako. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-10-19.
  • Pascal James Imperato. Historical Dictionary of Mali. Scarecrow Press/ Metuchen. NJ – London (1986) ISBN 0-8108-1369-6
  • Ross Velton. Mali: The Bradt Travel Guide. Guilford, Connecticut: Globe Pequot Press, 2000.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]