ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005
Konföderationen-Pokal 2005 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | เยอรมนี |
วันที่ | 15–29 มิถุนายน 2005 |
ทีม | 8 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 5 (ใน 5 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | บราซิล (สมัยที่ 2) |
รองชนะเลิศ | อาร์เจนตินา |
อันดับที่ 3 | เยอรมนี |
อันดับที่ 4 | เม็กซิโก |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 16 |
จำนวนประตู | 56 (3.5 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 603,106 (37,694 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | อาเดรียนู (5 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | อาเดรียนู |
ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 (อังกฤษ: 2005 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ จัดโดยฟีฟ่า ในปี ค.ศ. 2005 ที่ประเทศเยอรมนี โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15 – 29 มิถุนายน ก่อนการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 1 ปี
ทีมชาติบราซิล ทีมชนะเลิศฟุตบอลโลก 2002 และโกปาอาเมริกา 2004 ได้เป็นผู้ชนะการแข่งขันในปีนี้ หลังจากสามารถเอาชนะ อาร์เจนตินา ซึ่งได้แข่งขันเนื่องจากบราซิลชนะเลิศทั้งฟุตบอลโลกและโกปาอาเมริกา ในรอบชิงชนะเลิศที่ ค็อมแมทซ์บังค์-อาเรนา ในแฟรงก์เฟิร์ต ได้ 4–1 ซึ่งเป็นการพบกันอีกครั้งของทั้งคู่หลังจากทั้งคู่เคยพบกันในรอบชิงชนะเลิศของโกปาอาเมริกา 2004 ที่ลิมา ซึ่งบราซิลเอาชนะไปได้ในเกมนั้น
ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
[แก้]ทีม | สมาพันธ์ | วิธีการเข้ารอบ | วันที่เข้ารอบ | จำนวนครั้งที่เข้ารอบ |
---|---|---|---|---|
เยอรมนี | ยูฟ่า | เจ้าภาพ ฟุตบอลโลก 2006 | 7 กรกฎาคม 2000 | 2 |
บราซิล | คอนเมบอล | ชนะเลิศ ฟุตบอลโลก 2002 และ โกปาอาเมริกา 2004 | 30 มิถุนายน 2002 | 5 |
เม็กซิโก | คอนคาแคฟ | ชนะเลิศ คอนคาแคฟโกลด์คัพ 2003 | 27 กรกฎาคม 2003 | 5 |
ตูนิเซีย | ซีเอเอฟ | ชนะเลิศ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2004 | 14 กุมภาพันธ์ 2004 | 1 |
กรีซ | ยูฟ่า | ชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 | 4 กรกฎาคม 2004 | 1 |
อาร์เจนตินา | คอนเมบอล | รองชนะเลิศ โกปาอาเมริกา 20041 | 20 กรกฎาคม 2004 | 3 |
ญี่ปุ่น | เอเอฟซี | ชนะเลิศ เอเชียนคัพ 2004 | 7 สิงหาคม 2004 | 4 |
ออสเตรเลีย | โอเอฟซี | ชนะเลิศ โอเอฟซีเนชันส์คัพ 2004 | 12 ตุลาคม 2004 | 3 |
1อาร์เจนตินา รองแชมป์โกปาอาเมริกา 2004 ได้ผ่านเข้ามาแข่งขัน เนื่องจาก บราซิล ชนะเลิศการแข่งขันทั้ง โกปาอาเมริกา 2004 และฟุตบอลโลก 2002[1]
สนาม
[แก้]แฟรงก์เฟิร์ต | โคโลญ | ฮันโนเฟอร์ | ไลพ์ซิก | เนือร์นแบร์ก |
---|---|---|---|---|
ค็อมแมทซ์บังค์-อาเรนา | ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน | เอดับเบิลเด-อารีนา | เซนทราลสตาดีโอ | กันเดร์อารีนา |
ความจุ: 48,132 | ความจุ: 46,120 | ความจุ: 44,652 | ความจุ: 44,200 | ความจุ: 41,926 |
แต่เดิมนั้นสนาม ฟริตซ์-ไวล์เทอร์-สตาดีโอน ในไคเซิร์สเลาเทิร์น ได้ถูกรับเลือกให้เป็นสถานแข่งขันด้วย แต่ในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เจ้าหน้าที่ของเมืองได้ถอนตัวออกจากการเป็นเจ้าภาพ โดยให้เหตุผลว่าจะต้องใช้ค่าใช้จ่ายมากขึ้น หากจะสร้างสนามกีฬาให้เสร็จทันเวลาได้[2]
5 สนามที่ใช้จัดการแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 นี้ก็เป็นสนามจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2006 ในปีถัดมา เช่นกัน
ลูกฟุตบอล
[แก้]ลูกฟุตบอล อย่างเป็นทางการของการแข่งขัน คือ อาดิดาส เพียเรียส 2
ผู้ตัดสิน
[แก้]สมาคม | ผู้ตัดสิน | ผู้ช่วย |
---|---|---|
เอเอฟซี | แชมซุน ไมดิน (สิงค์โปร์) | ปรัชญา เพิ่มพานิช (ไทย) เบนเก็ต อัลลาแบรดเยฟ (เติร์กเมนิสถาน) |
ซีเอเอฟ | มูรัด แดนมี (ตูนิเซีย) | เตาฮูฟิค กัซชันชี (ตูนิเซีย) อาลี ทูมูเซงจ์ (ยูกันดา) |
คอนคาแคฟ | ปีเตอร์ ปรันเดอกรัส (จาเมกา) | แอนโธนี่ การ์วูด (จาเมกา) โจเซป เทย์เลอ (ตรินิแดดและโตเบโก) |
คอนเมบอล | การ์ลอส ชันดีอา (ชิลี) | กริสเตียน ฆูริโอ (ชิลี) มาริโอ วาร์กัส (ชิลี) |
การ์โลส อมารีญา (ปารากวัย) | อเมลิโอ อันดีโน (ปารากวัย) มานูเอล เบอร์นัล (ปารากวัย) | |
โอเอฟซี | แมทธิว บรีซ (ออสเตรเลีย) | แมทธิว กรีม (ออสเตรเลีย) จิม ออยาริส (ออสเตรเลีย) |
ยูฟ่า | แฮร์เบิร์ต ฟันเดอ (เยอรมนี) | คาร์สตึง คาดาช (เยอรมนี) เฟอร์คัก วิเซอ (เยอรมนี) |
โรแบร์โต โรเซ็ตติ (อิตาลี) | อเลซซานโตร ตริเซลลิ (อิตาลี) กริสเตียโน โคเปลลิ (อิตาลี) | |
ลูโบส มิโครส (สโลวาเกีย) | โรมัน ซิริชคอ (สโลวาเกีย) มาร์ติน บัลคอ (สโลวาเกีย) |
รายชื่อผู้เล่น
[แก้]รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]- ตามเวลาท้องถิ่น เวลายุโรปกลางฤดูร้อน (CEST) (UTC+1)
- ชื่อสนามในบทความคือชื่อสนามในขณะนั้น
กลุ่มเอ
[แก้]อาร์เจนตินา | 2–1 | ตูนิเซีย |
---|---|---|
ริเกลเม 33' (ลูกโทษ) ซาบิโอล่า 57' |
รายงาน | กูร์มัมเดีย 72' (ลูกโทษ) |
เยอรมนี | 4–3 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
คูรานี่ 17' แมร์เทสอัคเคอร์ 23' บัลลัค 60' (ลูกโทษ) โพดอลสกี 88' |
รายงาน | สโซโก 21' อาโลอซี 31', 90+2' |
ออสเตรเลีย | 2–4 | อาร์เจนตินา |
---|---|---|
อาโลอซี 61' (ลูกโทษ), 70' | รายงาน |
ออสเตรเลีย | 0–2 | ตูนิเซีย |
---|---|---|
รายงาน | ซานโตส 26', 70' |
อาร์เจนตินา | 2–2 | เยอรมนี |
---|---|---|
|
รายงาน |
กลุ่มบี
[แก้]ญี่ปุ่น | 1–2 | เม็กซิโก |
---|---|---|
|
รายงาน |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]Semi-finals | Final | ||||||
25 มิถุนายน – เนือร์นแบร์ก | |||||||
เยอรมนี | 2 | ||||||
บราซิล | 3 | ||||||
29 มิถุนายน – แฟรงก์เฟิร์ต | |||||||
บราซิล | 4 | ||||||
อาร์เจนตินา | 1 | ||||||
Third place | |||||||
26 มิถุนายน – ฮันโนเฟอร์ | 29 มิถุนายน – ไลพ์ซิก | ||||||
เม็กซิโก | 1 (5) | เยอรมนี (ต่อเวลา) | 4 | ||||
อาร์เจนตินา (ลูกโทษ) | 1 (6) | เม็กซิโก | 3 |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]เยอรมนี | 2–3 | บราซิล |
---|---|---|
ลูคัส โพดอลสกี 23' มิชาเอล บัลลัค 45+3' (ลูกโทษ) |
รายงาน | อาเดรียนู 21', 76' รอนัลดีนโย 43' (ลูกโทษ) |
รอบชิงที่สาม
[แก้]เยอรมนี | 4–3 (ต่อเวลาพิเศษ) | เม็กซิโก |
---|---|---|
ลูคัส โพดอลสกี 37' บัสเตียน ชไวน์ชไตเกอร์ 41' โรเบิร์ต ฮูธ 79' มิชาเอล บัลลัค 97' |
รายงาน | ฟรานซิสโก้ ฟอนเซสกา 40' ยาเรด โบเกตติ 58', 85' |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]บราซิล | 4–1 | อาร์เจนตินา |
---|---|---|
อาเดรียนู 11', 63' กาก้า 16' รอนัลดีนโย 47' |
รายงาน | ปาโบล ไอมาร์ 65' |
สถิติ
[แก้]รายชื่อผู้ทำประตู
[แก้]- 5 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
อันดับการแข่งขัน
[แก้]ตามการประชุมการนับสถิติฟุตบอล การแข่งขันที่แข่งขันจบในช่วงต่อเวลาพิเศษ จะนับเป็นการชนะหรือแพ้ตามผลการแข่งขัน ในขณะที่การแข่งขันที่แข่งขันจบโดยการดวลลูกโทษ จะนับเป็นการเสมอ
อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | Final result |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | B | บราซิล | 5 | 3 | 1 | 1 | 12 | 6 | +6 | 10 | ชนะเลิศ |
2 | A | อาร์เจนตินา | 5 | 2 | 2 | 1 | 10 | 10 | 0 | 8 | รองชนะเลิศ |
3 | A | เยอรมนี | 5 | 3 | 1 | 1 | 15 | 11 | +4 | 10 | อันดับที่สาม |
4 | B | เม็กซิโก | 5 | 2 | 2 | 1 | 7 | 6 | +1 | 8 | อันดับที่สาม |
5 | B | ญี่ปุ่น | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 4 | 0 | 4 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
6 | A | ตูนิเซีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | −2 | 3 | |
7 | B | กรีซ | 3 | 0 | 1 | 2 | 0 | 4 | −4 | 1 | |
8 | A | ออสเตรเลีย | 3 | 0 | 0 | 3 | 5 | 10 | −5 | 0 |
รางวัล
[แก้]ลูกบอลทองคำ | รองเท้าทองคำ |
---|---|
อาเดรียนู | อาเดรียนู |
ลูกบอลเงิน | รองเท้าเงิน |
---|---|
ฆวน โรมัน ริเกลเม | มิชาเอล บัลลัค |
ลุกบอลทองแดง | รองเท้าทองแดง |
รอนัลดีนโย | จอน อโรยซี่ |
รางวัลทีมที่เล่นขาวสะอาด |
---|
กรีซ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Argentina seal sixth FIFA Confederations Cup berth". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 July 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-09. สืบค้นเมื่อ 2 July 2012.
- ↑ "Kaiserslautern declines Confederations Cup role". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 27 May 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 8 June 2014.
- ↑ "Statistical Kit: FIFA Confederations Cup (FCC 2017 post-event edition) – Ranking by tournament" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 July 2017. p. 21. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2019. สืบค้นเมื่อ 28 September 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- FIFA Confederations Cup Germany 2005 เก็บถาวร 2016-11-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, FIFA.com
- เว็บไซต์ทางการ (archived)
- FIFA Technical Report เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน