ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003
Coupe des Confédérations 2003
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพฝรั่งเศส
วันที่18 มิถุนายน – 29 มิถุนายน
ทีม(จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
อันดับที่ 3ธงชาติตุรกี ตุรกี
อันดับที่ 4ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู37 (2.31 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม491,700 (30,731 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฝรั่งเศส ตีแยรี อ็องรี (4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมฝรั่งเศส ตีแยรี อ็องรี
2001
2005

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 (อังกฤษ: 2003 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ ครั้งที่ 4 จัดโดยฟีฟ่า ระหว่างวันที่ 18 – 29 มิถุนายน ค.ศ. 2003 ที่ประเทศฝรั่งเศส

ทีมชาติฝรั่งเศส ทีมเจ้าภาพได้ชนะเลิศการแข่งขันในปีนี้หลังจากสามารถเอาชนะ แคเมอรูน ในรอบชิงชนะเลิศได้ 1–0

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

แผนที่ทีมที่ผ่านเข้ารอบฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003
ทีม สมาพันธ์ วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ ครั้งที่เข้ารอบ
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ยูฟ่า ชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000
เจ้าภาพ
2 กรกฎาคม 2000
24 กันยายน 2002
2
ธงชาติบราซิล บราซิล คอนเมบอล ชนะเลิศ ฟุตบอลโลก 2002 30 มิถุนายน 2002 4
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เอเอฟซี ชนะเลิศ เอเชียนคัพ 2000 29 ตุลาคม 2000 3
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย คอนเมบอล ชนะเลิศ โกปาอาเมริกา 2001 29 กรกฎาคม 2001 1
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ คอนคาแคฟ ชนะเลิศ คอนคาเคฟโกลด์คัพ 2002 2 กุมภาพันธ์ 2002 3
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน ซีเอเอฟ ชนะเลิศ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2002 10 กุมภาพันธ์ 2002 2
ธงชาติตุรกี ตุรกี ยูฟ่า อันดับที่ 3 ฟุตบอลโลก 2002 29 มิถุนายน 2002 1
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ โอเอฟซี ชนะเลิศ โอเอฟซีเนชันส์คัพ 2002 14 กรกฎาคม 2002 2

หมายเหตุ: ตุรกีได้ผ่านเข้ารอบเนื่องจากฝรั่งเศสนั้นเป็นเจ้าภาพการแข่งขันและยังเป็นแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 ทำให้ต้องหาอีก 1 ทีมเพื่อที่จะเข้ารอบในรายการนี้โดยอิตาลี รองแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 และ เยอรมันรองแชมป์ฟุตบอลโลก 2002 ได้ปฏิเสธไม่เข้าร่วมแข่งขันทำให้สิทธิ์นี้นั้นตกเป็นของตุรกี ในที่สุด

สนามแข่งขัน[แก้]

แซ็ง-เดอนี ลียง แซ็งเตเตียน
สตาดเดอฟร็องส์ สตาดเดอแฌร์ล็อง สตาดฌอฟรัว-กีชาร์
ความจุ: 80,000 ความจุ: 41,200 ความจุ: 36,000

ผู้ตัดสิน[แก้]

แอฟริกา
เอเชีย
ยุโรป
อเมริกาเหนือ และ กลาง
โอเชียเนีย
อเมริกาใต้

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม A[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 3 0 0 8 1 +7 9
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 2 0 1 4 2 +2 6
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 0 2 4 3 +1 3
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 0 0 3 1 11 −10 0





กลุ่ม B[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน 3 2 1 0 2 0 +2 7
ธงชาติตุรกี ตุรกี 3 1 1 1 4 4 0 4
ธงชาติบราซิล บราซิล 3 1 1 1 3 3 0 4
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 3 0 1 2 1 3 −2 1





รอบแพ้คัดออก[แก้]

  Semi-finals Final
26 June - ลียง
 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน  1  
 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  0  
 
29 มิถุนายน - แซ็ง-เดอนี
     ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน  0
   ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (a.e.t.)  1
Third place
26 June - แซ็ง-เดอนี 28 June - แซ็งเตเตียน
 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  3  ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  1
 ธงชาติตุรกี ตุรกี  2    ธงชาติตุรกี ตุรกี  2

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

รางวัล[แก้]

บอลทองคำ รองเท้าทองคำ รางวัลทีมที่เล่นขาวสะอาด
ฝรั่งเศส ตีแยรี อ็องรี ฝรั่งเศส ตีแยรี อ็องรี ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
บอลเงิน รองเท้าเงิน
ตุรกี ทาคี ซาลี่ ตุรกี ทาคี ซาลี่
บอลบรอนซ์ รองเท้าบรอนซ์
แคเมอรูน มาร์ช-วิวิเซน โฟ ญี่ปุ่น ชุนซุเกะ นะกะมุระ

ดาวซัลโว[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]