ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vivokkk77 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Vivokkk77 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 55: บรรทัด 55:
'''สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา''' ({{lang-it|ACF Fiorentina}}) ทีมฟุตบอลชั้นนำทีมหนึ่งของ[[ประเทศอิตาลี]] ปัจจุบันเล่นอยู่ใน[[เซเรียอา]] ตั้งอยู่ ณ เมือง[[ฟลอเรนซ์]] เป็นคู่อริ กับต่างเมือง[[ตูริน]] อย่างทีม[[ยูเวนตุส]] หลังเกิดเหตุการณ์ข้อกังขาในนัดสุดท้ายลุ้นแชมป์'''เซเรียอา''' ในปี ค.ศ. 1981–82 จึงเป็นคู่ดาร์บีแมตช์ ตั้งแต่ ณ เวลานั้นเป็นต้นมา
'''สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา''' ({{lang-it|ACF Fiorentina}}) ทีมฟุตบอลชั้นนำทีมหนึ่งของ[[ประเทศอิตาลี]] ปัจจุบันเล่นอยู่ใน[[เซเรียอา]] ตั้งอยู่ ณ เมือง[[ฟลอเรนซ์]] เป็นคู่อริ กับต่างเมือง[[ตูริน]] อย่างทีม[[ยูเวนตุส]] หลังเกิดเหตุการณ์ข้อกังขาในนัดสุดท้ายลุ้นแชมป์'''เซเรียอา''' ในปี ค.ศ. 1981–82 จึงเป็นคู่ดาร์บีแมตช์ ตั้งแต่ ณ เวลานั้นเป็นต้นมา


== ประวัติ ==
== ประวัติของสโมสร ==


''ฟิออเรนตีนา'' ก่อตั้งสโมสรขึ้นในปี [[ค.ศ. 1926]] มีฉายาว่า ''Viola'' ([[สีม่วง]]) หรือ ''Gigliati'' (ดอก[[ลิลี]]) มีฉายาใน[[ภาษาไทย]]ว่า "ม่วงมหากาฬ" เนื่องจากมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือ ชุดประจำทีมที่เป็นสีม่วงทั้งชุด อันเป็นสีประจำเมืองฟลอเรนซ์<ref name="Martin">{{cite book | last = Martin | first = Simon| title =Football and Fascism: The National Game Under Mussolini| publisher = Berg Publishers| url =https://books.google.com/books?id=LSOmTCa8g50C&pg=PA142&lpg=PA142&dq=fiorentina+Luigi+Ridolfi+fascist&source=web&ots=-TY6RPJtWP&sig=plBjFJCYajFpO1RG3DF128PVB7E&hl=en| isbn = 1-85973-705-6}}</ref>
''ฟิออเรนตีนา'' ก่อตั้งสโมสรขึ้นในปี [[ค.ศ. 1926]] มีฉายาว่า ''Viola'' ([[สีม่วง]]) หรือ ''Gigliati'' (ดอก[[ลิลี]]) มีฉายาใน[[ภาษาไทย]]ว่า "ม่วงมหากาฬ" เนื่องจากมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือ ชุดประจำทีมที่เป็นสีม่วงทั้งชุด อันเป็นสีประจำเมืองฟลอเรนซ์<ref name="Martin">{{cite book | last = Martin | first = Simon| title =Football and Fascism: The National Game Under Mussolini| publisher = Berg Publishers| url =https://books.google.com/books?id=LSOmTCa8g50C&pg=PA142&lpg=PA142&dq=fiorentina+Luigi+Ridolfi+fascist&source=web&ots=-TY6RPJtWP&sig=plBjFJCYajFpO1RG3DF128PVB7E&hl=en| isbn = 1-85973-705-6}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:32, 20 มิถุนายน 2563

ฟีออเรนตีนา
ไฟล์:ACF Fiorentina 2.svg
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา
ฉายาViola (สีม่วง)
Gigliati (ดอกลิลลี่)
ม่วงมหากาฬ (ในภาษาไทย)
ก่อตั้ง1926 (AC Fiorentina)
2002 (ACF Fiorentina)
สนามอาร์เตมีโอ ฟรังกี
ฟลอเรนซ์
ความจุ43,147[1]
เจ้าของสโมสรร็อคโค บี. คอมมิสโซ (98%)
ฟิเรนเซ วิออล่า (2%)
ประธานสโมสรมาริโอ คอนยินี่
ผู้จัดการทีมวินเชนโซ มอนเตลลา
ลีกเซเรียอา
2018–19อันดับที่ 16
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน
สีชุดที่สาม

สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา (อิตาลี: ACF Fiorentina) ทีมฟุตบอลชั้นนำทีมหนึ่งของประเทศอิตาลี ปัจจุบันเล่นอยู่ในเซเรียอา ตั้งอยู่ ณ เมืองฟลอเรนซ์ เป็นคู่อริ กับต่างเมืองตูริน อย่างทีมยูเวนตุส หลังเกิดเหตุการณ์ข้อกังขาในนัดสุดท้ายลุ้นแชมป์เซเรียอา ในปี ค.ศ. 1981–82 จึงเป็นคู่ดาร์บีแมตช์ ตั้งแต่ ณ เวลานั้นเป็นต้นมา

ประวัติของสโมสร

ฟิออเรนตีนา ก่อตั้งสโมสรขึ้นในปี ค.ศ. 1926 มีฉายาว่า Viola (สีม่วง) หรือ Gigliati (ดอกลิลี) มีฉายาในภาษาไทยว่า "ม่วงมหากาฬ" เนื่องจากมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือ ชุดประจำทีมที่เป็นสีม่วงทั้งชุด อันเป็นสีประจำเมืองฟลอเรนซ์[2]

ฟีออเรนตีนาเคยตกชั้นหลายครั้งและเคยประสบวิกฤตจนเกือบยุบสโมสร แต่ก็สามารถกลับคืนสู่ลีกสูงสุดจนปัจจุบัน ในปี ค.ศ. 2002

สนามกีฬาอาร์เตมีโอ ฟรังกี

อาร์เตมีโอฟรังกี ซึ่งปัจจุบันมีความจุ 43,147 สนามกีฬาใช้ชื่อมาหลายปีแล้วและมีการปรับปรุงหลายครั้ง เป็นสนามเหย้าของฟิออเรนติน่า เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในชื่อเล่นว่าไวโอล่าซึ่งกล่าวถึงสีม่วงที่โดดเด่น

เกียรติประวัติ

ระดับประเทศ

ระดับทวีปยุโรป

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK บราซิล เนตู
2 DF อาร์เจนตินา กอนซาโล โรดรีเกซ
5 MF โครเอเชีย มีลัน บาเดลย์
6 MF เปรู ควน มานวยล์ บาร์กัส
7 MF ชิลี ดาบิด ปีซาร์โร
8 MF เยอรมนี มาร์โก มาริน (ยืมตัวมาจาก เชลซี)
10 MF อิตาลี อัลแบร์โต อากวีลานี
12 GK โรมาเนีย ชีเปรียน ตาตารูชานู
13 MF ยูเครน โอเลคซันดร์ ปัฟโลวิช ยาโคเวนโค
14 MF ชิลี มาตีอัส เฟร์นันเดซ
15 DF มอนเตเนโกร สเตฟาน ซาวิช
16 MF สโลวีเนีย ยัสมิน คูร์ทิช (ยืมตัวมาจาก ซัสซูโอโล)
17 MF สเปน โคอากิน ซานเชซ
19 DF อาร์เจนตินา โคเซ มารีอา บาซันตา
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
20 MF สเปน บอร์คา บาเลโร
21 GK อิตาลี กริสตีอาโน ลูปาเตลลี
22 FW อิตาลี จูเซปเป รอสซี
23 DF อิตาลี มานูเอล ปัสกวัล (กัปตันทีม)
25 MF ออสเตรเลีย โจชัว บริลลันเต
28 DF สเปน มาร์โกส อาลอนโซ เมนโดซา
29 FW อิตาลี เฟเดรีโก แบร์นาร์เดสกี
30 FW เซเนกัล คูมา บาบาการ์
32 MF อิตาลี อันเดรอา ลัซซารี
33 FW เยอรมนี มารีโอ โกเมซ
40 DF เซอร์เบีย เนนัด ทอมอวิช
55 DF อียิปต์ อะห์มัด ฮะกาซี
72 MF สโลวีเนีย ยอซิป อีลีชิช


77 FW โมร็อกโก มูนีร์ เอล ฮัมดาวี
93 MF บราซิล โอกตาวีอู (ยืมตัวมาจาก โบตาโฟโก)

อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง

อ้างอิง

  1. "ViolaChannel – Stadio Franchi".
  2. Martin, Simon. Football and Fascism: The National Game Under Mussolini. Berg Publishers. ISBN 1-85973-705-6.

แหล่งข้อมูลอื่น