ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
สมัยนั้นยังไม่มีนามสกุล
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ชื่อ = หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)
| name = หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)
| ภาพ = ไฟล์:สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด เสนีวงศ์).jpg
| image = ไฟล์:สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด เสนีวงศ์).jpg
| succession1 = [[เจ้าคณะอรัญวาสี]]และ[[เจ้าคณะใหญ่หนกลาง|เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง]]
| พระนาม = ทัด เสนีวงศ์
| reign-type1 = ดำรงตำแหน่ง
| พระนามเต็ม =
| reign1 = พ.ศ. 2437 - 2443
| ฐานันดร = หม่อมเจ้า
| successor1 = [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร]]
| วันประสูติ = 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365
| succession2 = [[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร|เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]]
| วันสิ้นชีพิตักษัย = 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443 (78 ปี)
| reign-type2 = ดำรงตำแหน่ง
| พระอิสริยยศ =
| reign2 = พ.ศ. 2434 - 2443
| พระราชบิดา =
| predecessor2 = [[พระพิมลธรรม (อ้น)]]
| พระบิดา = [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีบริรักษ์]]
| successor2 = [[พระอุบาฬีคุณูปมาจารย์ (ปาน)]]
| พระราชมารดา =
| succession3 = [[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร|เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม]]
| พระมารดา = หม่อมบุญมา
| reign-type3 = ดำรงตำแหน่ง
| ราชวงศ์ = จักรี
| reign3 = พ.ศ. 2415 - 2437
| predecessor3 = [[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)]]
| successor3 = [[สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (หม่อมราชวงศ์เจริญ ญาณฉนฺโท)]]
| birth_name = หม่อมเจ้าทัด
| birth_date = 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365
| death_style = ชีพิตักษัย
| death_date = 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443 (78 ปี)
| father1 = [[พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์]]
| mother1 = หม่อมบุญมา
| dynasty = จักรี
}}
}}
'''หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์''' พระนามเดิม '''หม่อมเจ้าทัด เสนีวงศ์''' (9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443) อดีต[[เจ้าคณะอรัญวาสี]] [[เจ้าคณะใหญ่หนกลาง|เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง]] และ[[เจ้าอาวาส]][[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]]
'''หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์''' พระนามเดิม '''หม่อมเจ้าทัด''' ราชสกุล'''เสนีวงศ์''' (9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443) อดีต[[เจ้าคณะอรัญวาสี]] [[เจ้าคณะใหญ่หนกลาง|เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง]] และ[[เจ้าอาวาส]][[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
'''หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์''' มีพระนามเดิมว่า'''หม่อมเจ้าทัด เสนีวงศ์''' ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 9 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเมีย<ref name="เรื่องตั้ง เล่ม ๑">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428|หน้า = 137-40}}</ref> ตรงกับวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 เป็นพระโอรสใน[[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีบริรักษ์]] กับหม่อมบุญมา
'''หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์''' มีพระนามเดิมว่า'''หม่อมเจ้าทัด''' ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 9 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเมีย<ref name="เรื่องตั้ง เล่ม ๑">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428|หน้า = 137-40}}</ref> ตรงกับวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 เป็นพระโอรสใน[[พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์]] กับหม่อมบุญมา


ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] หม่อมเจ้าทัดได้ผนวชเป็นสามเณรที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] แล้วไปเล่าเรียนกับ[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)|พระมหาโต]] ที่[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]] จนอายุครบอุปสมบทในปี พ.ศ. 2385 จึงผนวชเป็นภิกษุที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มี[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)]] เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาโตเป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วไปประทับที่วัดระฆังโฆสิตารามตามเดิม
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] หม่อมเจ้าทัดได้ผนวชเป็นสามเณรที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] แล้วไปเล่าเรียนกับ[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)|พระมหาโต]] ที่[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]] จนอายุครบอุปสมบทในปี พ.ศ. 2385 จึงผนวชเป็นภิกษุที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มี[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ (ด่อน)]] เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาโตเป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วไปประทับที่วัดระฆังโฆสิตารามตามเดิม


พ.ศ. 2392 ได้สอบพระปริยัติธรรมซึ่งจัดที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ได้เป็น[[เปรียญธรรม 3 ประโยค]] ถึงปี พ.ศ. 2404 ได้สอบอีกที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ได้เพิ่มอีก 4 ประโยค รวมเป็น[[เปรียญธรรม 7 ประโยค]]
พ.ศ. 2392 ได้สอบพระปริยัติธรรมซึ่งจัดที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ได้เป็น[[เปรียญธรรม 3 ประโยค]] ถึงปี พ.ศ. 2404 ได้สอบอีกที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ได้เพิ่มอีก 4 ประโยค รวมเป็น[[เปรียญธรรม 7 ประโยค]]
บรรทัด 79: บรรทัด 89:
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 7 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 7 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:เกจิอาจารย์]]
[[หมวดหมู่:เกจิอาจารย์]]
[[หมวดหมู่:หม่อมเจ้า]]
[[หมวดหมู่:หม่อมเจ้าชาย]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลเสนีวงศ์]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลเสนีวงศ์]]
[[หมวดหมู่:เจ้านายในพระราชวงศ์จักรีที่ทรงออกผนวช]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุที่เป็นเจ้านายในราชวงศ์จักรี]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:03, 17 กันยายน 2561

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)
เจ้าคณะอรัญวาสีและเจ้าคณะใหญ่คณะกลาง
ดำรงตำแหน่งพ.ศ. 2437 - 2443
ถัดไปพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร
เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ดำรงตำแหน่งพ.ศ. 2434 - 2443
ก่อนหน้าพระพิมลธรรม (อ้น)
ถัดไปพระอุบาฬีคุณูปมาจารย์ (ปาน)
เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม
ดำรงตำแหน่งพ.ศ. 2415 - 2437
ก่อนหน้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
ถัดไปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (หม่อมราชวงศ์เจริญ ญาณฉนฺโท)
ประสูติ9 ตุลาคม พ.ศ. 2365
หม่อมเจ้าทัด
ชีพิตักษัย10 มิถุนายน พ.ศ. 2443 (78 ปี)
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์
พระมารดาหม่อมบุญมา

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าทัด ราชสกุลเสนีวงศ์ (9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443) อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง และเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

ประวัติ

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ มีพระนามเดิมว่าหม่อมเจ้าทัด ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 9 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเมีย[1] ตรงกับวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 เป็นพระโอรสในพระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์ กับหม่อมบุญมา

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าทัดได้ผนวชเป็นสามเณรที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วไปเล่าเรียนกับพระมหาโต ที่วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร จนอายุครบอุปสมบทในปี พ.ศ. 2385 จึงผนวชเป็นภิกษุที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีสมเด็จพระอริยวงษญาณ (ด่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาโตเป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วไปประทับที่วัดระฆังโฆสิตารามตามเดิม

พ.ศ. 2392 ได้สอบพระปริยัติธรรมซึ่งจัดที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ได้เป็นเปรียญธรรม 3 ประโยค ถึงปี พ.ศ. 2404 ได้สอบอีกที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ได้เพิ่มอีก 4 ประโยค รวมเป็นเปรียญธรรม 7 ประโยค

พ.ศ. 2407 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ หม่อมเจ้าพุทธุปบาทปิลันทน์

ต่อมาในปี พ.ศ. 2415 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 จึงได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ที่มรณภาพ[2]

พ.ศ. 2430 เป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันธน์พระธรรมเจดีย์ กระวีวงษนายก ตรีปิฎกบัณฑิตย มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี[3]

พ.ศ. 2435 ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายเหนือที่ หม่อมเจ้าพระพิมลธรรม์ มหันตคุณ วิบุลปรีชาญาณนายก ตรีปิฎกคุณาลังการภูษิต อุตรทิศคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี[4] ย้ายไปครองวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

พ.ศ. 2437 ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะอรัญวาสีและเจ้าคณะใหญ่คณะกลางที่ หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ อเนกสถานปรีชา สัปตวิสุทธิจริยาสมบัติ นิพัทธธุตคุณ สิริสุนทรพรตจาริก อรัญญิกมหาปรินายก ตรีปิฎกโกศล วิมลมัชฌิมคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัญญวาสี[5]

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์สิ้นชีพิตักษัยด้วยพระโรคชรา เมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 7 ปีชวด ตรงกับวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443 เวลาบ่าย 2 โมงเศษ สิริชันษา 77 ปี 244 วัน ได้รับโกศไม้สิบสองประกอบศพ[6] ได้รับพระราชทานเพลิงศพพร้อมกับสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน) เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444[7]

อ้างอิง

  1. สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 428 หน้า. หน้า 137-40. ISBN 974-417-530-3
  2. สมประสงค์ ทรัพย์พาลี. ๑๐๑ จุลจักรี ๑๐๑ ปี จุลจอมเกล้า. กรุงเทพ : [ม.ป.พ.], พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2555. 154 หน้า. ISBN 9786169092605
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ตั้งตำแหน่งพระสงฆ, เล่ม 4, หน้า 325
  4. ราชกิจจานุเบกษา, คำประกาศตั้งตำแหน่งพระสงฆ์, เล่ม 9, หน้า 461-2
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศตั้งตำแหน่งพระสงฆ์, เล่ม 11, หน้า 309
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวสิ้นชีพตักไษย หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจาริย์, เล่ม 17, ตอน 12, 19 มิถุนายน 2443, หน้า 118
  7. ราชกิจจานุเบกษา, การศพหม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์แลสมเด็จพระวันรัต, เล่ม 17, ตอน 48, 19 กุมภาพันธ์ 2443, หน้า 687