ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปกครองของบริษัทในอินเดีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
|status_text = อาณานิคมร่วมทุนโดย[[บริษัทอินเดียตะวันออก]] <br>ในกำกับของ[[รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร|รัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่]]
|status_text = อาณานิคมร่วมทุนโดย[[บริษัทอินเดียตะวันออก]] <br>ในกำกับของ[[รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร|รัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่]]
|status = Colony administered by the [[East India Company]] and regulated by the [[Parliament of the United Kingdom|British Parliament]].
|status = Colony administered by the [[East India Company]] and regulated by the [[Parliament of the United Kingdom|British Parliament]].
|government_type = [[บริษัทอินเดียตะวันออก|บริษัทอินเดียตะวันออกอันทรงเกียรติ]]
|government_type = [[บรรษัทาธิปไตย]]
|empire = British Empire
|empire = British Empire
|event_start = [[ยุทธการที่ปลาศี]]
|event_start = [[ยุทธการที่ปลาศี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:29, 6 มิถุนายน 2560

การปกครองของบริษัทในอินเดีย

ค.ศ. 1757–1858
คำขวัญAuspicio Regis et Senatus Angliae
"โดยพระราชโองการในพระเจ้าแผ่นดินแลรัฐสภาแห่งอังกฤษ"
สถานะอาณานิคมร่วมทุนโดยบริษัทอินเดียตะวันออก
ในกำกับของรัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่
เมืองหลวงกัลกัตตา (1757–1858)
ภาษาทั่วไปอังกฤษ, ฮินดี
การปกครองบริษัทอินเดียตะวันออกอันทรงเกียรติ
ข้าหลวงต่างพระองค์ 
• 1774–75
วอร์เรน ฮาสติงส์ (คนแรก)
• 1857–58
ชาลส์ แคนนิง (สุดท้าย)
ประวัติศาสตร์ 
23 มิถุนายน ค.ศ. 1757
16 สิงหาคม 1765
18 มีนาคม 1792
31 ธันวาคม 1802
24 กุมภาพันธ์ 1826
9 มีนาคม 1846
2 สิงหาคม 1858
พื้นที่
1858[1]1,942,481 ตารางกิโลเมตร (749,996 ตารางไมล์)
สกุลเงินรูปี
รหัส ISO 3166IN
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิมราฐา
จักรวรรดิโมกุล
Kingdom of Mysore
จักรวรรดิซิกข์
บริติชราช
นิคมช่องแคบ
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ บังกลาเทศ
 อินเดีย
 ปากีสถาน
 พม่า

การปกครองของบริษัทในอินเดีย หรือบางครั้งเรียกว่า กัมปานีราช (อังกฤษ: Company Raj)[2] หมายถึงการปกครองดินแดนในอนุทวีปอินเดียของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ซึ่งเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี 1757 ภายหลังกองทหารของบริษัทมีชัยชนะในยุทธการที่ปลาศีและได้ภาคเบงกอลมาครอบครอง และในปี 1765 บริษัทก็ได้รับสิทธิในการเก็บรายได้ในเบงกอลและพิหาร ต่อมาในปี 1773 บริษัทได้ตั้งกัลกัตตาเป็นเมืองหลวง และมีราชสำนักอังกฤษได้แต่งตั้งข้าหลวงต่างพระองค์คนแรกขึ้น[3]

หลังได้เบงกอลและพิหารมาครอบครอง บริษัทก็ได้ส่งกองทหารไปเจรจาให้รัฐต่างๆยินยอมให้บริษัทเข้าไปทำผลประโยชน์ตามเงื่อนไขที่บริษัทต้องการ รัฐใดที่ยินยอมก็จะยังมีคงอำนาจในการปกครองตนเอง ถึงกระนั้น รัฐมากมายในอินเดียตัดสินใจต่อสู้กับบริษัทและต่างพ่ายแพ้ เจ้าผู้ครองรัฐถูกริบอำนาจและรัฐตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของบริษัท บริษัทได้ยุติบทบาทในการปกครองอนุทวีปอินเดียไปภายหลังการก่อกบฎโดยชาวพื้นเมืองในปี 1857 ซึ่งนำมาสู่การตราพระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858 ซึ่งรัฐบาลสหราชอาณาจักรได้เข้ามาปกครองอินเดียโดยตรงแทน

อินเดียในปี ค.ศ. 1765, 1805, 1837 และ 1857 (สีชมพูคือดินแดนในปกครองของบริษัท) อินเดียในปี ค.ศ. 1765, 1805, 1837 และ 1857 (สีชมพูคือดินแดนในปกครองของบริษัท)
อินเดียในปี ค.ศ. 1765, 1805, 1837 และ 1857 (สีชมพูคือดินแดนในปกครองของบริษัท)

อ้างอิง

  1. John Barnhill (14 May 2014). R. W. McColl (บ.ก.). Encyclopedia of World Geography. Infobase Publishing. p. 115. ISBN 978-0-8160-7229-3.
  2. Oxford English Dictionary, 2nd edition, 1989: Hindi, rāj, from Skr. rāj: to reign, rule; cognate with L. rēx, rēg-is, OIr. , rīg king (see RICH).
  3. Metcalf & Metcalf, p. 56