ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:มารยาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Plush Toys.JPG|thumb|หูของผู้ใช้ใหม่ค่อนข้างอ่อนบาง ฉะนั้น '''[[วิกิพีเดีย:โปรดอย่ากัดผู้ใช้ใหม่|อย่าพยายามไปกัด]]''']]
[[ไฟล์:Plush Toys.JPG|thumb|หูของผู้ใช้ใหม่ค่อนข้างอ่อนบาง ฉะนั้น '''[[วิกิพีเดีย:โปรดอย่ากัดผู้ใช้ใหม่|อย่าพยายามไปกัด]]''']]
{{กล่องแนวปฏิบัติ}}
{{กล่องแนวปฏิบัติ}}
เนื่องจากชาววิกิพีเดียมาจากหลายๆ ที่ หลายสังคม ความเห็นและมุมมองย่อมแตกต่างกัน การเคารพและมีมารยาทต่อกัน เป็นหัวใจสำคัญในการร่วมมือสร้างวิกิพีเดียขึ้นมาให้ประสบความสำเร็จ บทความในหน้านี้ '''มารยาทในวิกิพีเดีย''' เพื่อเป็นแนวทาง และพึงนึกเสมอว่า พื้นฐานของคนส่วนใหญ่จะเกิดความรู้สึกภูมิใจ เมื่อได้ทำงานหรือเขียนบทความอะไรลงไป การไปแก้ไขงานคนนั้นๆ อาจทำให้เกิดความรู้สึก หงุดหงิดขึ้นมาได้ง่าย พึงควรระวัง
เนื่องจากชาววิกิพีเดียมาจากหลาย ๆ ที่ หลายสังคม ความเห็นและมุมมองย่อมแตกต่างกัน การเคารพและมีมารยาทต่อกัน เป็นหัวใจสำคัญในการร่วมมือสร้างวิกิพีเดียขึ้นมาให้ประสบความสำเร็จ บทความในหน้านี้ '''มารยาทในวิกิพีเดีย''' เพื่อเป็นแนวทาง และพึงนึกเสมอว่า พื้นฐานของคนส่วนใหญ่จะเกิดความรู้สึกภูมิใจ เมื่อได้ทำงานหรือเขียนบทความอะไรลงไป การไปแก้ไขงานคนนั้น ๆ อาจทำให้เกิดความรู้สึก หงุดหงิดขึ้นมาได้ง่าย พึงควรระวัง


== พื้นฐานของมารยาทในวิกิพีเดีย ==
== พื้นฐานของมารยาทในวิกิพีเดีย ==
* '''[[วิกิพีเดีย:เชื่อว่าคนอื่นมีเจตนาดี|เชื่อมั่นว่าบุคคลอื่นมีเจตนาดี]]''' ทุกคนที่ร่วมเข้ามาเขียนในวิกิพีเดีย มีใจที่ต้องการสร้างบทความที่ดี และนโยบายของวิกิพีเดียเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นสามารถเขียนและแก้ไขบทความที่ดีได้
* '''[[วิกิพีเดีย:เชื่อว่าคนอื่นมีเจตนาดี|เชื่อมั่นว่าบุคคลอื่นมีเจตนาดี]]''' ทุกคนที่ร่วมเข้ามาเขียนในวิกิพีเดีย มีใจที่ต้องการสร้างบทความที่ดี และนโยบายของวิกิพีเดียเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นสามารถเขียนและแก้ไขบทความที่ดีได้
* "จงปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างที่คุณปรารถนาให้เขาปฏิบัติต่อคุณ"
* "จงปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างที่คุณปรารถนาให้เขาปฏิบัติต่อคุณ"
* สุภาพ
* สุภาพ
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
* ทำงานโดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน
* ทำงานโดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน
* เวลาโต้เถียง ให้แย้งกันเรื่องข้อเท็จจริงของตัวเนื้อหา อย่าเถียงกันเรื่องความเห็นหรือการแสดงออกส่วนตัวในส่วนเนื้อหา
* เวลาโต้เถียง ให้แย้งกันเรื่องข้อเท็จจริงของตัวเนื้อหา อย่าเถียงกันเรื่องความเห็นหรือการแสดงออกส่วนตัวในส่วนเนื้อหา
* พยายามควบคุมอารมณ์ของตนระหว่างการโต้เถียง
* พยายามควบคุมอารมณ์ของตนระหว่างการโต้เถียง
* แก้ไขหรือสรุปข้อโต้เถียงที่คุณเป็นผู้ตั้งประเด็นไว้
* แก้ไขหรือสรุปข้อโต้เถียงที่คุณเป็นผู้ตั้งประเด็นไว้
* อย่าเฉยเมยกับคำถามผู้อื่น ถ้ามีผู้ที่สงสัยและต้องการแก้ไขงานของเรา ควรระบุเหตุผลที่เหมาะสมในการเขียนหรือแก้ไข
* อย่าเฉยเมยกับคำถามผู้อื่น ถ้ามีผู้ที่สงสัยและต้องการแก้ไขงานของเรา ควรระบุเหตุผลที่เหมาะสมในการเขียนหรือแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
* ผู้เขียนบทความควรจะพยายามทำความเข้าใจในการแก้ไขและการวิจารณ์ของบุคคลอื่นที่มีต่อบทความของตน
* ผู้เขียนบทความควรจะพยายามทำความเข้าใจในการแก้ไขและการวิจารณ์ของบุคคลอื่นที่มีต่อบทความของตน
* ผู้มาใช้ใหม่ อาจผิดพลาดได้ง่าย พูดคุยด้วยคำพูดที่ดี และอธิบายข้อผิดพลาด และที่สำคัญ ต้องไม่ลืม แนะนำวิธีแก้ไขหรือหาทางออกให้
* ผู้มาใช้ใหม่ อาจผิดพลาดได้ง่าย พูดคุยด้วยคำพูดที่ดี และอธิบายข้อผิดพลาด และที่สำคัญ ต้องไม่ลืม แนะนำวิธีแก้ไขหรือหาทางออกให้
* อย่าสรุปว่า สิ่งที่เราไม่เห็นด้วย คือสิ่งที่ผิด หลายๆ เรื่อง สามารถหาทางออกได้มากกว่ากำหนดว่า ถูก หรือ ผิด
* อย่าสรุปว่า สิ่งที่เราไม่เห็นด้วย คือสิ่งที่ผิด หลาย ๆ เรื่อง สามารถหาทางออกได้มากกว่ากำหนดว่า ถูก หรือ ผิด
* [[วิกิพีเดีย:อย่าว่าร้ายผู้อื่น|อย่าว่าร้ายผู้อื่น]] ไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม เพราะจะทำให้ผู้ใช้คนนั้นมีปฏิกิริยาตอบสนอง ถ้าคุณต้องการวิจารณ์ในเรื่องใดก็ตาม คุณควรจะวิจารณ์เขาอย่างสุภาพและติในเชิงก่อ
* [[วิกิพีเดีย:อย่าว่าร้ายผู้อื่น|อย่าว่าร้ายผู้อื่น]] ไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม เพราะจะทำให้ผู้ใช้คนนั้นมีปฏิกิริยาตอบสนอง ถ้าคุณต้องการวิจารณ์ในเรื่องใดก็ตาม คุณควรจะวิจารณ์เขาอย่างสุภาพและติในเชิงก่อ
* ถึงแม้ว่ามารยาท จะมีเรื่องให้คิดมากมาย แต่อย่าลืมว่า วิกิพีเดียแนะนำให้[[วิกิพีเดีย:ขอให้กล้าแก้ไขบทความ|กล้าแก้ไขบทความ]]
* ถึงแม้ว่ามารยาท จะมีเรื่องให้คิดมากมาย แต่อย่าลืมว่า วิกิพีเดียแนะนำให้[[วิกิพีเดีย:ขอให้กล้าแก้ไขบทความ|กล้าแก้ไขบทความ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:11, 23 มีนาคม 2558

ไฟล์:Plush Toys.JPG
หูของผู้ใช้ใหม่ค่อนข้างอ่อนบาง ฉะนั้น อย่าพยายามไปกัด

เนื่องจากชาววิกิพีเดียมาจากหลาย ๆ ที่ หลายสังคม ความเห็นและมุมมองย่อมแตกต่างกัน การเคารพและมีมารยาทต่อกัน เป็นหัวใจสำคัญในการร่วมมือสร้างวิกิพีเดียขึ้นมาให้ประสบความสำเร็จ บทความในหน้านี้ มารยาทในวิกิพีเดีย เพื่อเป็นแนวทาง และพึงนึกเสมอว่า พื้นฐานของคนส่วนใหญ่จะเกิดความรู้สึกภูมิใจ เมื่อได้ทำงานหรือเขียนบทความอะไรลงไป การไปแก้ไขงานคนนั้น ๆ อาจทำให้เกิดความรู้สึก หงุดหงิดขึ้นมาได้ง่าย พึงควรระวัง

พื้นฐานของมารยาทในวิกิพีเดีย

  • เชื่อมั่นว่าบุคคลอื่นมีเจตนาดี ทุกคนที่ร่วมเข้ามาเขียนในวิกิพีเดีย มีใจที่ต้องการสร้างบทความที่ดี และนโยบายของวิกิพีเดียเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นสามารถเขียนและแก้ไขบทความที่ดีได้
  • "จงปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างที่คุณปรารถนาให้เขาปฏิบัติต่อคุณ"
  • สุภาพ
  • พูดกับคนอื่น เหมือนกับที่อยากให้คนอื่นพูดกับเรา
  • ควรหลีกเลี่ยงการใช้ภาษาแชต เพราะผู้อื่นอาจถือเป็นการดูถูก หรือไม่เหมาะสม และอาจทำให้น้ำหนักความคิดเห็นของคุณน้อยลง (ยกเว้นกับผู้ใช้ที่ยอมรับภาษาแชตในหน้าคุยกับผู้ใช้)
  • ในหน้าพูดคุยหรืออภิปราย ตามมารยาทควรลงชื่อเพื่อแสดงให้เห็นถึงผู้พูด โดยการใส่เครื่องหมาย ~~~~ (ทิลดา สี่ตัว)
  • หลีกเลี่ยงการย้อนการแก้ไขของผู้ใช้คนอื่น เมื่อสามารถทำได้
  • ทำงานโดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน
  • เวลาโต้เถียง ให้แย้งกันเรื่องข้อเท็จจริงของตัวเนื้อหา อย่าเถียงกันเรื่องความเห็นหรือการแสดงออกส่วนตัวในส่วนเนื้อหา
  • พยายามควบคุมอารมณ์ของตนระหว่างการโต้เถียง
  • แก้ไขหรือสรุปข้อโต้เถียงที่คุณเป็นผู้ตั้งประเด็นไว้
  • อย่าเฉยเมยกับคำถามผู้อื่น ถ้ามีผู้ที่สงสัยและต้องการแก้ไขงานของเรา ควรระบุเหตุผลที่เหมาะสมในการเขียนหรือแก้ไข
  • อย่าลืมขอโทษถ้ากระทำผิดพลาด
  • ให้อภัยการกระทำที่ผิด และลืมมันเสีย
  • อย่าปลุกกระแสให้คนอื่นทะเลาะกัน
  • ช่วยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งระหว่างผู้ใช้คนอื่น
  • ลองดู วิกิพีเดีย:ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย และ คำที่มักเขียนผิด
  • ถ้ามีปัญหา ลองเว้นระยะไปสักพัก หรือลองดูบทความอื่น ในวิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความให้คุณตรวจสอบแก้ไขถึง 164,201 บทความ
  • ท้ายสุด อย่าลืมดูว่าวิกิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย และ วิกิพีเดีย:นโยบายและแนวปฏิบัติ

ข้อพึงระวัง

  • พยายามอธิบายให้ชัดเจน ว่าต้องการทำอะไร เฉพาะอย่างยิ่งในหน้าพูดคุย
  • ผู้เขียนบทความควรจะพยายามทำความเข้าใจในการแก้ไขและการวิจารณ์ของบุคคลอื่นที่มีต่อบทความของตน
  • ผู้มาใช้ใหม่ อาจผิดพลาดได้ง่าย พูดคุยด้วยคำพูดที่ดี และอธิบายข้อผิดพลาด และที่สำคัญ ต้องไม่ลืม แนะนำวิธีแก้ไขหรือหาทางออกให้
  • อย่าสรุปว่า สิ่งที่เราไม่เห็นด้วย คือสิ่งที่ผิด หลาย ๆ เรื่อง สามารถหาทางออกได้มากกว่ากำหนดว่า ถูก หรือ ผิด
  • อย่าว่าร้ายผู้อื่น ไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม เพราะจะทำให้ผู้ใช้คนนั้นมีปฏิกิริยาตอบสนอง ถ้าคุณต้องการวิจารณ์ในเรื่องใดก็ตาม คุณควรจะวิจารณ์เขาอย่างสุภาพและติในเชิงก่อ
  • ถึงแม้ว่ามารยาท จะมีเรื่องให้คิดมากมาย แต่อย่าลืมว่า วิกิพีเดียแนะนำให้กล้าแก้ไขบทความ

ดูเพิ่ม