ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิโลกรัม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: zh-classical:公斤
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 112 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q11570 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
{{โครง}}
{{โครง}}
{{Link GA|en}}
{{Link GA|en}}

[[af:Kilogram]]
[[als:Kilogramm]]
[[an:Kilogramo]]
[[ar:كيلوغرام]]
[[arz:كيلوجرام]]
[[ast:Quilogramu]]
[[ay:Kilu]]
[[az:Kiloqram]]
[[ba:Килограмм]]
[[bat-smg:Kėluograms]]
[[be:Кілаграм]]
[[be-x-old:Кіляграм]]
[[bg:Килограм]]
[[bn:কিলোগ্রাম]]
[[bo:སྟོང་ཁེའུ།]]
[[br:Kilogramm]]
[[bs:Kilogram]]
[[ca:Quilogram]]
[[cs:Kilogram]]
[[cv:Килограмм]]
[[cy:Cilogram]]
[[da:Kilogram]]
[[de:Kilogramm]]
[[el:Χιλιόγραμμο]]
[[en:Kilogram]]
[[eo:Kilogramo]]
[[es:Kilogramo]]
[[et:Kilogramm]]
[[eu:Kilogramo]]
[[fa:کیلوگرم]]
[[fi:Kilogramma]]
[[fr:Kilogramme]]
[[frr:Kilogram]]
[[fur:Chilogram]]
[[fy:Kilogram]]
[[ga:Cileagram]]
[[gan:公斤]]
[[gl:Quilogramo]]
[[hak:Kûng-kîn]]
[[he:קילוגרם]]
[[hi:किलोग्राम]]
[[hr:Kilogram]]
[[ht:Kilogram]]
[[hu:Kilogramm]]
[[hy:Կիլոգրամ]]
[[ia:Kilogramma]]
[[id:Kilogram]]
[[is:Kílógramm]]
[[it:Chilogrammo]]
[[ja:キログラム]]
[[jv:Kilogram]]
[[ka:კილოგრამი]]
[[kk:Килограмм]]
[[ko:킬로그램]]
[[krc:Килограмм]]
[[ksh:Masse]]
[[ku:Kîlogram]]
[[la:Chiliogramma]]
[[lb:Kilogramm]]
[[li:Kilogram]]
[[lmo:Chilo]]
[[ln:Kilogálame]]
[[lt:Kilogramas]]
[[lv:Kilograms]]
[[mk:Килограм]]
[[ml:കിലോഗ്രാം]]
[[mn:Килограмм]]
[[mr:किलोग्रॅम]]
[[ms:Kilogram]]
[[mt:Kilogramm]]
[[my:ကီလိုဂရမ်]]
[[nds:Kilogramm]]
[[new:किलोग्राम]]
[[nl:Kilogram]]
[[nn:Kilogram]]
[[no:Kilogram]]
[[oc:Quilograma]]
[[pl:Kilogram]]
[[pnb:کلوگرام]]
[[pt:Quilograma]]
[[qu:Kilugramu]]
[[ro:Kilogram]]
[[ru:Килограмм]]
[[scn:Chilugrammu]]
[[sco:Kilogramme]]
[[sh:Kilogram]]
[[simple:Kilogram]]
[[sk:Kilogram]]
[[sl:Kilogram]]
[[so:Kiilogaraam]]
[[sq:Kilogrami]]
[[sr:Килограм]]
[[su:Kilogram]]
[[sv:Kilogram]]
[[sw:Kilogramu]]
[[szl:Kilogram]]
[[ta:கிலோகிராம்]]
[[te:కిలోగ్రాము]]
[[tl:Kilogramo]]
[[tr:Kilogram]]
[[tt:Килограмм]]
[[uk:Кілограм]]
[[ur:ألف‌گرام]]
[[uz:Kilogramm]]
[[vec:Chiłogramo]]
[[vi:Kilôgam]]
[[war:Kilogramo]]
[[yi:קילאגראם]]
[[zh:千克]]
[[zh-classical:公斤]]
[[zh-min-nan:Kong-kin]]
[[zh-yue:千克]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:12, 8 มีนาคม 2556

กิโลกรัม (อังกฤษ: kilogram) สัญลักษณ์ kg เป็นหน่วยฐานเอสไอของมวล นิยามไว้เท่ากับมวลของมวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัม

หน่วยพหุคูณ

พหุคูณเอสไอสำหรับหน่วยกรัม (g)
พหุคูณย่อย พหุคูณใหญ่
ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ
10–1 g dg เดซิกรัม 101 g dag เดคากรัม
10–2 g cg เซนติกรัม 102 g hg เฮกโตกรัม
10–3 g mg มิลลิกรัม 103 g kg กิโลกรัม
10–6 g µg ไมโครกรัม 106 g Mg เมกะกรัม (เมตริกตัน)
10–9 g ng นาโนกรัม 109 g Gg จิกะกรัม
10–12 g pg พิโกกรัม 1012 g Tg เทระกรัม
10–15 g fg เฟมโตกรัม 1015 g Pg เพตะกรัม
10–18 g ag อัตโตกรัม 1018 g Eg เอกซะกรัม
10–21 g zg เซปโตกรัม 1021 g Zg เซตตะกรัม
10–24 g yg ยอกโตกรัม 1024 g Yg ยอตตะกรัม
หน่วยที่นิยมใช้แสดงเป็นตัวหนา

นิยาม

กิโลกรัม ยังคงเป็นหน่วยเอสไอเพียงหน่วยเดียวที่นิยามโดยเทียบกับวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้น แทนที่จะเทียบกับความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติพื้นฐานทางฟิสิกส์เช่นหน่วยอื่น ๆ

เมื่อแรกเริ่มนั้น หนึ่งกิโลกรัม นิยามไว้เท่ากับมวลของน้ำบริสุทธิ์ ปริมาตรหนึ่งลิตร ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสและความดันบรรยากาศมาตรฐาน นิยามข้างต้นวัดให้แม่นยำได้ยาก เนื่องจากความหนาแน่นของน้ำขึ้นอยู่กับความดันบรรยากาศ และความดันนิยามโดยมีมวลเป็นองค์ประกอบ ทำให้เกิดการขึ้นแก่กันเป็นวงกลมในนิยามของกิโลกรัมข้างต้น

เพื่อแก้ปัญหาข้างต้น จึงได้มีการนิยามกิโลกรัมใหม่ให้เท่ากับมวลของมวลมาตรฐานอย่างเที่ยงตรง ซึ่งมวลมาตรฐานดังกล่าวสร้างขึ้นโดยให้มีมวลเทียบเท่ากับมวลในนิยามเดิม นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1889 เป็นต้นมา ระบบเอสไอนิยามให้มวลหนึ่งกิโลกรัมเท่ากับมวลของมวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัม ซึ่งเป็นทรงกระบอกสร้างจากโลหะเจือแพลทินัม-อิริเดียม ความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลาง 39 มิลลิเมตร เก็บรักษาไว้ที่สำนักงานระหว่างประเทศว่าด้วยมาตราชั่งตวงวัด (Bureau International des Poids et Mesures) ได้มีการสร้างสำเนาอย่างเป็นทางการของมวลต้นแบบระหว่างชาติฯ ขึ้นหลายชิ้นด้วยกันเพื่อใช้เป็นมวลต้นแบบแห่งชาติ ซึ่งจะนำมาเปรียบเทียบกับมวลต้นแบบระหว่างชาติฯ ("Le Grand Kilo" เลอกรองกีโล) ประมาณทุก 10 ปี มวลต้นแบบระหว่างชาติฯ นั้นสร้างขึ้นราวคริสต์ทศวรรษ 1880

หากถือตามนิยาม ความคลาดเคลื่อนระหว่างการเปรียบเทียบซ้ำแต่ละครั้งของนิยามปัจจุบันจะต้องเป็นศูนย์ ทว่าในการถือปฏิบัติโดยทั่วไป ถือว่าความคลาดเคลื่อนดังกล่าวอยู่ในอันดับ 2 ไมโครกรัม ความคลาดเคลื่อนนี้พบจากการเปรียบเทียบมวลต้นแบบระหว่างชาติฯ กับมวลต้นแบบแห่งชาติทุกชิ้น เนื่องจากมวลต้นแบบแห่งชาติสร้างจากวัสดุเดียวกันและเก็บไว้ในสภาวะเดียวกัน จึงไม่มีเหตุผลเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่ามวลต้นแบบระหว่างชาติฯ มีความเสถียรของมวลมากหรือน้อยไปกว่ามวลสำเนาอย่างเป็นทางการชิ้นอื่น ๆ ด้วยเหตุนี้การประมาณการความเสถียรของมวลต้นแบบระหว่างชาติฯ จึงสามารถกระทำได้ กระบวนวิธีเปรียบเทียบดังกล่าวนี้จะกระทำประมาณทุก 40 ปี

ปัจจุบันเราพบว่ามวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัมสูญเสียมวลไปประมาณ 50 ไมโครกรัมตลอดระยะเวลา 100 ปีที่ผ่านมา ซึ่งสาเหตุนั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด (จากรายงานในนิตยสาร แดร์-ชปีเกิล ปี 2003 ฉบับ 26) การที่มวลของมวลต้นแบบฯ เปลี่ยนแปรไปจนสังเกตได้นี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ผลักดันให้มีการค้นหานิยามใหม่สำหรับกิโลกรัม เนื่องจากหากเราถือตามนิยามของกิโลกรัมในปัจจุบัน คำกล่าวที่ว่า "วัตถุใด ๆ ก็ตามในเอกภพ (เว้นแต่มวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัม) ที่เมื่อ 100 ปีก่อนมีมวล 1 กิโลกรัม, และไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ นับตั้งแต่นั้นเป็นมา, ปัจจุบันจะมีมวลมากกว่าหนึ่งกิโลกรัมอยู่ 50 ไมโครกรัม" จะต้องนับว่าถูกต้องแม่นยำ เราจะเห็นว่าคำกล่าวข้างต้นขัดแย้งกับสามัญสำนึก นอกจากนี้ยังทำให้สูญเสียความมุ่งหมายในการนิยามหน่วยมาตรฐานของมวลไป เนื่องจากมาตรฐานไม่ควรเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ได้เมื่อเวลาผ่านไป

แม่แบบ:Link GA