ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันลอยกระทง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pi@k (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อกวน ไปรุ่น 28 พ.ย. 2555
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
สำหรับประเทศไทยปัจจุบัน มีการล่วงละเมิดทางเพศเกิดขึ้นมากอย่างยิ่งในวันลอยกระทง ผลสำรวจของ[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ]]เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 พบว่า เทศกาลลอยกระทงชักนำให้วัยรุ่นไทยร่วมประเวณีกันมากที่สุด มีความเป็นไปได้ที่เยาวชนไทยร้อยละ 38 จะถูกล่วงละเมิดทางเพศในวันลอยกระทง ทั้งนี้ เพราะเทศกาลลอยกระทงจัดในยามค่ำคืน หนุ่มสาวพบเจอกันได้ง่ายและมักเสพสุรายาเมากัน<ref>{{cite web | title = ผลสำรวจชี้เด็กเยาวชน 38% เสี่ยงถูกละเมิดทางเพศคืนลอยกระทง | publisher = ผู้จัดการ | date = 27 พฤศจิกายน 2555 | accessdate = 27 พฤศจิกายน 2555 | url = http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000144617}}</ref> นอกจากนี้ [[มหาเถรสมาคม]]ยังเปิดเผยด้วยว่า ในภาคอีสานมักจัดงานวัดซึ่งประกอบด้วยการเสพของมึนเมาและจัดแสดงอนาจารในคืนลอยกระทง<ref>{{cite web | title = พศ. เข้ม ห้ามเต้นโชว์ดื่มเหล้าในวัดคืนลอยกระทง | publisher = ผู้จัดการ | date = 27 พฤศจิกายน 2555 | accessdate = 27 พฤศจิกายน 2555 | url = http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000144689}}</ref>
สำหรับประเทศไทยปัจจุบัน มีการล่วงละเมิดทางเพศเกิดขึ้นมากอย่างยิ่งในวันลอยกระทง ผลสำรวจของ[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ]]เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 พบว่า เทศกาลลอยกระทงชักนำให้วัยรุ่นไทยร่วมประเวณีกันมากที่สุด มีความเป็นไปได้ที่เยาวชนไทยร้อยละ 38 จะถูกล่วงละเมิดทางเพศในวันลอยกระทง ทั้งนี้ เพราะเทศกาลลอยกระทงจัดในยามค่ำคืน หนุ่มสาวพบเจอกันได้ง่ายและมักเสพสุรายาเมากัน<ref>{{cite web | title = ผลสำรวจชี้เด็กเยาวชน 38% เสี่ยงถูกละเมิดทางเพศคืนลอยกระทง | publisher = ผู้จัดการ | date = 27 พฤศจิกายน 2555 | accessdate = 27 พฤศจิกายน 2555 | url = http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000144617}}</ref> นอกจากนี้ [[มหาเถรสมาคม]]ยังเปิดเผยด้วยว่า ในภาคอีสานมักจัดงานวัดซึ่งประกอบด้วยการเสพของมึนเมาและจัดแสดงอนาจารในคืนลอยกระทง<ref>{{cite web | title = พศ. เข้ม ห้ามเต้นโชว์ดื่มเหล้าในวัดคืนลอยกระทง | publisher = ผู้จัดการ | date = 27 พฤศจิกายน 2555 | accessdate = 27 พฤศจิกายน 2555 | url = http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000144689}}</ref>


== วันลอยอากงคอยถลอก ปอกเปิดในปฏิทินสุริยคติ ==
== วันลอยกระทงในปฏิทินสุริยคติ ==
{{รอบปีนักษัตร|start=2539
{{รอบปีนักษัตร|start=2539
|11-24|11-14|11-3|11-22|11-11|10-31|11-19|11-8|11-26|11-16|11-5|11-24
|11-24|11-14|11-3|11-22|11-11|10-31|11-19|11-8|11-26|11-16|11-5|11-24
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
** [[จังหวัดสุโขทัย]] ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง
** [[จังหวัดสุโขทัย]] ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง
* [[ภาคอีสาน]] ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า '''สิบสองเพ็ง''' หมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น
* [[ภาคอีสาน]] ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า '''สิบสองเพ็ง''' หมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น
**[[จังหวัดร้อยเอ็ด]] มีชื่องานประเพณีว่า "สมมาน้ำคืนเพ็ง เส็งประทีป" ตามภาษาถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง การประกวดประทีปโคมไฟและแกดปกดผหพผฟภกระทงอันสวยงาม มีการจำลองแห่หัวเมืองสาเกตุนครทั้ง11 หัวเมือง
**[[จังหวัดร้อยเอ็ด]] มีชื่องานประเพณีว่า "สมมาน้ำคืนเพ็ง เส็งประทีป" ตามภาษาถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง การประกวดประทีปโคมไฟและกระทงอันสวยงาม มีการจำลองแห่หัวเมืองสาเกตุนครทั้ง11 หัวเมือง
**[[จังหวัดนครพนม]] จะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟ เป็นรูปต่างๆ เรียกว่า "[[ไหลเรือไฟ]]"โดยเฉพาะที่[[จังหวัดนครพนม]]เพราะมีความงด**[[จังหวัดสกลนคร]] ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทำ[[ปราสาทผึ้ง]]โบราณ เรียกงานนี้ว่า[[เทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล]]
**[[จังหวัดสกลนคร]] ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทำ[[ปราสาทผึ้ง]]โบราณ เรียกงานนี้ว่า[[เทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล]]
**[[จังหวัดนครพนม]] จะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟ เป็นรูปต่างๆ เรียกว่า "[[ไหลเรือไฟ]]"โดยเฉพาะที่[[จังหวัดนครพนม]]เพราะมีความงดงามและอลังการที่สุดใน[[ภาคอีสาน]]
งามและอลังการที่สุดใน[[ภาคอีสาน]]
* [[ภาคกลาง]] มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
* [[ภาคกลาง]] มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
**[[กรุงเทพมหานคร]] จะมี[[งานภูเขาทอง]] เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
**[[กรุงเทพมหานคร]] จะมี[[งานภูเขาทอง]] เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:27, 7 ธันวาคม 2555

กระทงแบบดั้งเดิมนั้นทำจากวัสดุธรรมชาติ

วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของชาวไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณีลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป

ในวันลอยกระทง ผู้คนจะพากันทำ "กระทง" จากวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตบแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวบาน ปักธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรือใส่เหรียญกษาปณ์ลงไปในกระทง แล้วนำไปลอยในสายน้ำ (ในพื้นที่ติดทะเล ก็นิยมลอยกระทงริมฝั่งทะเล) เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์ไป นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการลอยกระทง เป็นการบูชาและขอขมาพระแม่คงคาด้วย

สำหรับประเทศไทยปัจจุบัน มีการล่วงละเมิดทางเพศเกิดขึ้นมากอย่างยิ่งในวันลอยกระทง ผลสำรวจของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 พบว่า เทศกาลลอยกระทงชักนำให้วัยรุ่นไทยร่วมประเวณีกันมากที่สุด มีความเป็นไปได้ที่เยาวชนไทยร้อยละ 38 จะถูกล่วงละเมิดทางเพศในวันลอยกระทง ทั้งนี้ เพราะเทศกาลลอยกระทงจัดในยามค่ำคืน หนุ่มสาวพบเจอกันได้ง่ายและมักเสพสุรายาเมากัน[1] นอกจากนี้ มหาเถรสมาคมยังเปิดเผยด้วยว่า ในภาคอีสานมักจัดงานวัดซึ่งประกอบด้วยการเสพของมึนเมาและจัดแสดงอนาจารในคืนลอยกระทง[2]

วันลอยกระทงในปฏิทินสุริยคติ

ปี วันที่ วันที่ วันที่
ปีชวด 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 31 ตุลาคม พ.ศ. 2563
ปีฉลู 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
ปีขาล 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565
ปีเถาะ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
ปีมะโรง 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
ปีมะเส็ง 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2568
ปีมะเมีย 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ???
ปีมะแม 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ???
ปีวอก 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ???
ปีระกา 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ???
ปีจอ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ???
ปีกุน 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ???

ประวัติ

พลุเฉลิมฉลองในเทศกาลวันลอยกระทงริมแม่น้ำเจ้าพระยา

เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง โดยมีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียนประทีป และนางนพมาศได้นำดอกโคทม ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีป[ต้องการอ้างอิง] แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลักฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่างๆ ในสมัยรัชกาลที่1

ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น

โคมลอยยี่เป็ง
  • ภาคเหนือตอนบน นิยมทำโคมลอย เรียกว่า "ลอยโคม" หรือ "ว่าวฮม" หรือ "ว่าวควัน" ทำจากผ้าบางๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูน ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่า ยี่เป็ง หมายถึงการทำบุญในวันเพ็ญเดือนยี่(ซึ่งนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย)
    • จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี"ยี่เป็ง"เชียงใหม่ ในทุกๆปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระการตา และมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า
    • จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสาย เรียกว่า "กระทงสาย"
    • จังหวัดสุโขทัย ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง
  • ภาคอีสาน ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า สิบสองเพ็ง หมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น
  • ภาคกลาง มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
    • กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
    • จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่างยิ่งใหญ่บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ภายในงานมีการจัดแสดงแสง สี เสียง อย่างงดงามตระการตา
  • ภาคใต้ อย่างที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ นอกจากนั้น ในจังหวัดอื่นๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน

นอกจากนี้ในแต่ละท้องถิ่นยังอาจมีประเพณีลอยกระทงที่แตกต่างกันไป และสืบทอดต่อกันเรื่อยมา

ความเชื่อเกี่ยวกับวันลอยกระทง

  • เป็นการขอขมาพระแม่คงคา ที่มนุษย์ได้ใช้น้ำ ได้ดื่มกินน้ำ รวมไปถึงการทิ้งสิ่งปฏิกูลต่างๆ ลงในแม่น้ำ
  • เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาท ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระบาทไว้หาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ในประเทศอินเดีย
  • เป็นการลอยความทุกข์ ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ำ
  • ชาวไทยในภาคเหนือมีความเชื่อว่า การลอยกระทงเป็นการบูชาพระอุปคุต ตามตำนานเล่าว่า พระอุปคุตทรงสามารถปราบพระยามารได้

อ้างอิง

  1. "ผลสำรวจชี้เด็กเยาวชน 38% เสี่ยงถูกละเมิดทางเพศคืนลอยกระทง". ผู้จัดการ. 27 พฤศจิกายน 2555. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2555. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "พศ. เข้ม ห้ามเต้นโชว์ดื่มเหล้าในวัดคืนลอยกระทง". ผู้จัดการ. 27 พฤศจิกายน 2555. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2555. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น