แกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย
แกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ประมาณ ค.ศ. 1236–17951 | |||||||||||
แกรนด์ดัชชีลิทัวเนียในช่วงรุ่งเรืองที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 15 จำลองเขตแดนเหนือรัฐปัจจุบัน | |||||||||||
สถานะ |
| ||||||||||
เมืองหลวง | |||||||||||
ภาษาทั่วไป | ลิทัวเนีย รูทีเนีย โปแลนด์ ละติน เยอรมัน ยิดดิช | ||||||||||
ศาสนา | |||||||||||
การปกครอง |
| ||||||||||
แกรนด์ดยุก | |||||||||||
• ค.ศ. 1236–1263 (ตั้งแต่ ค.ศ. 1251 ในฐานะ กษัตริย์) | มินกัวดาร์ (พระองค์แรก) | ||||||||||
• ค.ศ. 1764–1795 | สตาญิสวัฟ เอากุสตุส ปอญาตอฟสกี (พระองค์สุดท้าย) | ||||||||||
สภานิติบัญญัติ | ไซมาส | ||||||||||
• สภาองคมนตรี | สภาขุนนาง | ||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||
• เริ่มรวมตัว | คริสต์ทศวรรษที่ 1180 | ||||||||||
ค.ศ. 1251–1263 | |||||||||||
14 สิงหาคม ค.ศ. 1385 | |||||||||||
1 กรกฎาคม ค.ศ. 1569 | |||||||||||
24 ตุลาคม ค.ศ. 1795 | |||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||
ค.ศ. 1260 | 200,000 ตารางกิโลเมตร (77,000 ตารางไมล์) | ||||||||||
ค.ศ. 1430 | 930,000 ตารางกิโลเมตร (360,000 ตารางไมล์) | ||||||||||
ค.ศ. 1572 | 320,000 ตารางกิโลเมตร (120,000 ตารางไมล์) | ||||||||||
ค.ศ. 1791 | 250,000 ตารางกิโลเมตร (97,000 ตารางไมล์) | ||||||||||
ค.ศ. 1793 | 132,000 ตารางกิโลเมตร (51,000 ตารางไมล์) | ||||||||||
ประชากร | |||||||||||
• ค.ศ. 1260 | 400,000 คน | ||||||||||
• ค.ศ. 1430 | 2,500,000 คน | ||||||||||
• ค.ศ. 1572 | 1,700,000 คน | ||||||||||
• ค.ศ. 1791 | 2,500,000 คน | ||||||||||
• ค.ศ. 1793 | 1,800,000 คน | ||||||||||
| |||||||||||
1. ในรัฐธรรมนูญ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 มีการวางแผนสร้างรัฐรวมศูนย์ ซึ่งจะทำให้แกรนด์ดัชชีลิทัวเนียถูกยุบ แต่บทเสริมของรัฐธรรรมนูญฉบับดังกล่าว เรียกว่าคำยืนยันความกลมเกลียวแห่งทั้งสองชาติ คืนสถานะเดิมให้ลิทัวเนียในวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1791[3] |
แกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย (ลิทัวเนีย: Lietuvos Didžioji Kunigaikštystė อังกฤษ: Grand Duchy of Lithuania) เป็นอดีตรัฐในทวีปยุโรปที่ดำรงอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13[4] ถึง ค.ศ. 1795[5] เมื่อดินแดนของแกรนด์ดัชชีถูกแบ่งระหว่าง จักรวรรดิรัสเซีย ราชอาณาจักรปรัสเซีย และ จักรวรรดิออสเตรีย
แกรนด์ดัชชีลิทัวเนียก่อตั้งขึ้นโดย ชาวลิทัวเนีย หนึ่งในชนเผ่าที่นับถือความเชื่อแบบ พหุเทวนิยม จากดินแดนบริเวณ "อักซุสตราเจีย" (ลิทัวเนีย: Aukštaitija) หรือบริเวณที่ราบสูงของลิทัวเนีย
แกรนด์ดัชชีลิทัวเนียทำสงครามขยายอิทธิพลจนมีดินแดนอันกว้างใหญ่ อันประกอบด้วยดินแดนของอดีต จักรวรรดิเคียฟรุส ดินแดนของชนเผ่าสลาฟอื่นๆ รวมทั้ง ประเทศเบลารุส ในปัจจุบัน บางส่วนของ ประเทศยูเครน ประเทศโปแลนด์ และ ประเทศรัสเซีย เมื่อแกรนด์ดัชชีก้าวสู่ยุคเจริญรุ่งเรืองในคริสต์วรรษที่ 15 แกรนด์ดัชชีลิทัวเนียถือว่าเป็นรัฐที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ที่สุดในยุโรป ณ เวลานั้น[6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "History of the national coat of arms". ไซมาส. สืบค้นเมื่อ 8 July 2021.
- ↑ Herby Rzeczypospolitej Polskiej i Wielkiego Księstwa Litewskiego. Orły, Pogonie, województwa, książęta, kardynałowie, prymasi, hetmani, kanclerze, marszałkowie (ภาษาโปแลนด์). หอสมุดยาเกียลโลเนียน. 1875–1900. pp. 6, 30, 32, 58, 84, 130, 160, 264, 282, 300. สืบค้นเมื่อ 21 August 2021.
{{cite book}}
: CS1 maint: date format (ลิงก์) - ↑ Tumelis, Juozas. "Abiejų Tautų tarpusavio įžadas". Vle.lt (ภาษาลิทัวเนีย). สืบค้นเมื่อ 9 April 2021.
- ↑ Baranauskas, Tomas (2000). "Lietuvos valstybės ištakos" [The Lithuanian State] (ภาษาลิทัวเนีย). Vilnius: viduramziu.istorija.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-29. สืบค้นเมื่อ 20 July 2016.
- ↑ Sužiedėlis, Saulius. Historical dictionary of Lithuania (2nd ed.). Lanham, Md.: Scarecrow Press. p. 119. ISBN 978-0-8108-4914-3.
- ↑ R. Bideleux. A History of Eastern Europe: Crisis and Change. Routledge, 1998. p. 122
แหล่งที่มา
[แก้]- Grand Duchy of Lithuania: Encyclopedia in Three Volumes, Volume I, 2nd edition, 2007. — 688 pages, illustrated, ISBN 985-11-0314-4
- Grand Duchy of Lithuania: Encyclopedia in Three Volumes, Volume II, 2nd edition, 2007. — 792 pages, illustrated, ISBN 985-11-0378-0
- Grand Duchy of Lithuania: Encyclopedia in Three Volumes, Volume III, 1st edition, 2010. — 696 pages, illustrated, ISBN 978-985-11-0487-7
- Norman Davies. God's Playground. Columbia University Press; 2nd edition (2002), ISBN 0-231-12817-7.
- Robert Frost. The Oxford History of Poland-Lithuania: Volume I: The Making of the Polish-Lithuanian Union, 1385–1569. Oxford University Press, 2015, ISBN 978-0198208693
- Alan V. Murray. Crusade and Conversion on the Baltic Frontier 1150–1500 (Cambridge Studies in Medieval Life and Thought: Fourth Series). Routledge, 2001. ISBN 9780754603252.
- Alan V. Murray. The Clash of Cultures on the Medieval Baltic Frontier Routledge, 2016. ISBN 978-0754664833.
- Zenonas Norkus. An Unproclaimed Empire: The Grand Duchy of Lithuania: From the Viewpoint of Comparative Historical Sociology of Empires, Routledge, 2017, 426 p. ISBN 978-1138281547
- S. C. Rowell. Chartularium Lithuaniae res gestas magni ducis Gedeminne illustrans. Gedimino laiškai. Vilnius, 2003, ISBN 5-415-01700-3. e-copy
- S. C. Rowell. Lithuania Ascending: A Pagan Empire within East-Central Europe, 1295–1345 (Cambridge Studies in Medieval Life and Thought: Fourth Series). Cambridge University Press, 2014. ISBN 978-1107658769.
- S. C. Rowell, D. Baronas. The conversion of Lithuania. From pagan barbarians to late medieval Christians. Vilnius, 2015, ISBN 9786094251528.
- Daniel Z. Stone. The Polish-Lithuanian State, 1386–1795. University of Washington Press. 2014. Pp. xii, 374. ISBN 9780295803623
- A. Dubonis , D. Antanavičius, R. Ragauskiene, R. Šmigelskytė-Štukienė. The Lithuanian Metrica : History and Research. Academic Studies Press. Brighton, United States, 2020. ISBN 9781644693100
- Jūratė Kiaupienė. Between Rome and Byzantium: The Golden Age of the Grand Duchy of Lithuania's Political Culture. Second half of the fifteenth century to first half of the seventeenth century. Academic Studies Press. Brighton, United States, 2020. ISBN 9781644691465
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- History of the Grand Duchy of Lithuania
- Cheryl Renshaw. The Grand Duchy of Lithuania 1253–1795
- Grand Duchy of Lithuania
- Grand Duchy of Lithuania administrative map เก็บถาวร 2023-09-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Lithuanian-Ruthenian state at the Encyclopedia of Ukraine
- Zenonas Norkus. The Grand Duchy of Lithuania in the Retrospective of Comparative Historical Sociology of Empires