เขตการปกครองของประเทศอิหร่าน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแบ่งเขตการปกครองของอิหร่าน แบ่งออกเป็นสี่ระดับ ได้แก่ จังหวัด (อุสตอน), เทศมณฑล (ชะฮ์ริสตอน), อำเภอ (บัคช์), และตำบล (โดฮิสตอน) 

การแบ่งเขตการปกครองประเทศ[แก้]

โครงสร้างการแบ่งเขตบริหารในอิหร่านมีลักษณะดังนี้

  1. ประเทศ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย)
  2. จังหวัด (ผู้ว่าการจังหวัด)
  3. เทศมณฑล (ผู้ว่าการเทศมณฑล)
  4. อำเภอ (นายอำเภอ)
  5. ตำบล (กำนัน)

ประเทศ อิหร่านมีหลายจังหวัดและแต่ละจังหวัดก็มีหลายเทศมณฑล แต่ละเทศมณฑลมีหลายอำเภอและแต่ละอำเภอก็มีหลายตำบล

ศูนย์กลางของประเทศ เรียกว่าเมืองหลวง ศูนย์กลางของแต่ละจังหวัด เรียกว่าศูนย์กลางจังหวัด (มัรกะเซอุสตอน) ศูนย์กลางของแต่ละเทศมณฑล เรียกว่าศูนย์กลางเทศมณฑล (มัรกะเซชะฮ์ริสตอน) ศูนย์กลางแต่ละอำเภอ เรียกว่า ศูนย์กลางอำเภอ (มัรกะเซโดฮิสตอน) และศูนย์กลางแต่ละตำบลก็จะเรียกวา ศูนย์กลางตำบล (มัรกะเซบัคช์)

หน่วยงานบริหารที่เกี่ยวข้องกับเขตการปกครองข้างต้น ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าการมณฑล ผู้ว่าการเทศมณฑล นายอำเภอ และกำนัน

การแบ่งเขตการปกครองประเทศ เจ้าหน้าที่ปกครองในปี 1361 เจ้าหน้าที่ปกครองตามการแบ่งเขตปัจจุบัน เจ้าหน้าที่ปกครองตามการ
ประเทศ มะมาลิกมะห์รูซะฮ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ชา
เทศมณฑล วิลายัต ผู้ว่าการเทศมณฑล ฮากิม
อำเภอ บุลูก นายอำเภอ นาอิบุลฮุกูมัต
ตำบล กอศบะฮ์  กำนัน ซัรบุลูกบาชี
เมือง ชะฮ์ร นายกเทศมนตรี รออีสบัลดียะฮ์
ชนบท กอรยะฮ์ ผู้ใหญ่บ้าน คดโคดา

กฎหมายของเทศมณฑล[แก้]

มาตราที่ 9 ว่าด้วยกฎหมายการแบ่งเขตประเทศ  วันที่12 เดือนตีร ปี 1362 รัฐสภาอิสลาม มาตราที่ 9 ระบุว่า :มนฑล เป็นหน่วยการแบ่งหนึ่งของประเทศที่มีขอบเขตตามภูมิศาสตร์ที่ชัดเจนซึ่งประกอบด้วยเทศมณฑลต่าง ๆ ที่มีสถานะทางเมือง สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและธรรมชาติที่ใกล้เคียงกั

วรรค 1- กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจเมื่อเกิดความจำเป็นที่จะแยกและรวมจังหวัด  เทศมณฑล และอำเภอต่าง ๆ เพื่อสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นในการบริหารจังหวัดต่าง ๆ ด้วยมติความเห็นขอบของคณะรัฐมนตรี นอกจากว่ารัฐสภาอิสลามจะอนุมัติให้สร้างจังหวัดใหม่ขึ้น ซึ่งจังหวัดใหม่นั้นจำเป็นต้องมีประชากรอย่างน้อยหนึ่งล้านคน  วรรค 2 - ศูนย์กลางของจังหวัด คือเมืองหนึ่งในจังหวัดนั้น ๆ ที่เหมาะสมทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ธรรมชาติและสังคมของจังหวัดนั้น

สถิติการแบ่งเขตบริหารประเทศ[แก้]

ข้อมูลการแบ่งเขตบริหารประเทศครั้งล่าสุดประจำปี 1394  ประเทศอิหร่านมี 31 จังหวัด 429 เทศมณฑล 1057 อำเภอ 2589 ตำบล และ  1245 เมือง  3878 เทศบาล และ 97581 หมู่บ้าน โดยประมาณแล้วมีผู้ว่า 21 คน:[1] [2]

ตารางแสดงสถิติ เทศมณฑล อำเภอ และเมืองต่าง ๆ ประจำ ปี 1389 เดือน บะฮ์มัน

ลำดับ จังหวัด ศูนย์กลาง เทศมณฑล อำเภอ ตำบล เมือง เขตปกครองพิเศษ
1 าเซอร์ไบจานตะวันออก ับรีซ 20 44 142 58 [./تقسیمات_کشوری_در_ایران#cite_note-4]مراغه[3] - مرند[4] - มะยอเนะฮ์[5]
2 าเซอร์ไบจานตะวันตก อุรูมีเยะฮ์ 17 40 113 39 خوی[6] - مهاباد[7] - میاندوآب[8]
3 อัรดะบีล ัรดะบีล 10 27 69 14
4 อิศฟาฮาน อิศฟาฮาน 23 45 125 100 کاشان[9]นะญัฟ ออบอดد
5 อัลโบรซ์ ะร้จ 4 10 22 16
6 อีลอม อีลาม 8 20 40 21 ดะเรชะฮ์
7 บูชะฮ์ร์ บันดัรโดชะฮ์ร 9 23 44 32
8 เตหะราน ตหะราน 14 29 64 41
9 จะฮอรบะฮอรวะบัคเตยอรี ชะฮ์เรโครด์ 7 19 41 27
10 โครอซอนใต้ ีรญันด์ 10 19 49 25 طبس[10]
11 ครอซอนรอซะวี ัชฮัด 27 69 163 72
12 โครอซอนเหนือ บัจนุวัรด์ 7 17 42 18
13 ดคซิสตอน อะฮ์วอซ 24 55 130 62 آبادان[11] - دزفول[12]
14 ซันจอน ซันจอน 7 16 46 18
15 เมนอน เซมนอน 8 13 29 17 شاهرود[13]
16 ิสตอนวะบูลูญิสตอน ซอเฮดอน 14 40 102 37 ایرانشهر - زابل
17 อร์ส ีรอซ 29 83 204 93 لارستان
18 กัซวีน กัซวีน 6 19 46 25
19 กุม กุม 1 5 9 6
20 โครดิสตอน สะนันดัจ 10 27 84 25 سقز[14]
21 เกรมอน เกรมอน 23 54 147 64 سیرجان[15] - رفسنجان[16]
22 เกรมอนชอฮ์ เกรมอนชอฮ์ 14 30 85 29
23 กะฮ์ฆีลูวีเยะฮ์วะบุวีรอะห์มัด ยาสูจ 7 17 43 16
24 ฆุเลสตอน โฆรฆอน 14 27 60 25
25 ฆีลอน ร้ชต์ 16 43 109 51
26 โลริสตอน โครัมออบอด 10 27 84 25 بروجرد[17]
27 มอซันดะรอน ซอรี 22 55 129 58 بابل - آمل[18]
28 มัรกะซี เอรอก 12 21 63 31 ساوه[19]
29 เฮรมัซฆอน บันดัรอับบาส 13 37 85 32 میناب[20]
30 ฮะเมดอน ฮะเมดอน 9 25 73 27 ملایر[21]
31 ยัซด์ ยัซด์ 11 22 51 24

การแบ่งภูมิภาคของเทศมณฑลต่าง ๆ[แก้]

วันอังคารที่ 18/9/1392 อับดุรริฎอ เราะห์มานี ฟัฎลี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สมัยรัฐบาลที่ 11 ของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน กล่าวว่า โครงการการแบ่งเขตเทศมณฑลต่าง ๆ และการแบ่งเขตการปกครองแบบใหม่จากกระทรวงมหาดไทยนั้นกำลังได้รับการพิจราณา เขากล่าวว่า การดำเนินงานโครงการนี้ต้องการแก้ไขกฎหมาย ซึ่งคงต้องใช้เวลานานพอสมควร แต่เบื้องต้นทางกระทรวงมหาดไทยได้สัญญาจะวางแผนงานแบ่งสี่ถึงห้าเทศมณฑลให้อยู่ภูมิภาคเดียวกัน [22]

อ้างอิง[แก้]

แม่แบบ:پانویس

ดูเพิ่ม[แก้]

  1. جدول تعداد عناصر و واحدهای تقسیمات کشوری خرداد ماه سال ۱۳۹۱ เก็บถาวร 2012-05-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน پایگاه اطلاع‌رسانی وزارت کشور
  2. https://www.amar.org.ir/Portals/0/Geo/GEO94-summary.pdf
  3. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  4. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  5. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  6. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  7. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  8. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  9. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  10. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  11. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  12. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  13. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  14. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  15. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  16. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  17. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  18. فرمانداری ویژه در شهرستانهای بابل و آمل دایر می‌شود เก็บถาวร 2016-04-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน استانداری مازندارن
  19. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  20. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  21. {{cite web}}: Citation ว่างเปล่า (help)
  22. [خبر طرح منطقه‌ای کردن استان‌های کشور http://www.dolat.ir/NSite/FullStory/News/?Serv=8&Id=233301 เก็บถาวร 2013-12-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน]