อุมม์ซะละมะฮ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อุมม์ซะละมะฮ์
أم سلمة
เกิดฮินด์ บินต์ อะบีอุมัยยะฮ์
ป. ค.ศ. 580 หรือ 596
มักกะฮ์ ฮิญาซ อาระเบีย
(ปัจจุบันคือประเทศซาอุดีอาระเบีย)
เสียชีวิตษุลเกาะอ์ดะฮ์ ฮ.ศ. 62 ; ป. ค.ศ. 680 หรือ 682/683
มะดีนะฮ์ ฮิญาซ รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
(ปัจจุบันคือประเทศซาอุดีอาระเบีย)
สุสานญันนะตุลบะกีอ์ มะดีนะฮ์
มีชื่อเสียงจากภรรยาคนที่ 6 ของมุฮัมมัด
คู่สมรส
บุตร
  • ซัยนับ (Barrah)
  • ซะละมะฮ์
  • ซาเราะฮ์
  • อุมัร
  • รุก็อยยะฮ์ (Durrah)
  • (ทั้งหมดจากอะบูซะละมะฮ์)
บิดามารดาอะบูอุมัยยะฮ์ อิบน์ อัลมุฆีเราะฮ์ (พ่อ)
อาติกะฮ์ บินต์ อามิร (แม่)
ญาติ
ครอบครัวบะนูมัคซูม (ตั้งแต่เกิด)
อะฮ์ลุลบัยต์ (ผ่านการแต่งงาน)

ฮินด์ บินต์ อะบีอุมัยยะฮ์ (อาหรับ: هِنْد ابِنْت أَبِي أُمَيَّة, Hind ʾibnat ʾAbī ʾUmayya, ป. ค.ศ. 580 หรือ 596 – 680 หรือ 683)[1][2] รู้จักกันในชื่อ อุมม์ซะละมะฮ์ (อาหรับ: أُمّ سَلَمَة) หรือ ฮินด์ อัลมัคซูมียะฮ์ (อาหรับ: هِنْد ٱلْمَخْزُومِيَّة) เป็นภรรยาคนที่ 6 ของมุฮัมมัด

"อุมม์ซะละมะฮ์" เป็นกุนยะฮ์ที่หมายถึง "มารดาซะละมะฮ์"[3][4] เธอเป็นหนึ่งในผู้ติดตามหญิงที่มีอิทธิพลมากที่สุดของมุฮัมมัด ส่วนใหญ่ยอมรับจากการจำฮะดีษหลายฉบับ[5] มุสลิมนิกายชีอะฮ์เชื่อว่าเธอเป็นภรรยาที่สำคัญที่สุดของมุฮัมมัดหลังจากเคาะดีญะฮ์[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. Understanding the Islamic Law, Raj Bhala, Section: Umm Salama. In 625 Mohammad married Umm Salama Hind (circa 580-680) another war widow, as her husband died after the Battle of Uhud.
  2. Fahimineiad, Fahimeh; Trans. Zainab Mohammed (2012). "Exemplary Women: Lady Umm Salamah" (PDF). Message of Thaqalayn. 12 (4): 127. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 March 2014. สืบค้นเมื่อ 1 May 2014.
  3. Sayeed, Asma (2013). Women and The Transmission of Religious Knowledge In Islam. NY: Cambridge University Press. p. 34. ISBN 978-1-107-03158-6.
  4. Fahimineiad, Fahimeh; Trans. Zainab Mohammed (2012). "Exemplary Women: Lady Umm Salamah" (PDF). Message of Thaqalayn. 12 (4): 128. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 March 2014. สืบค้นเมื่อ 1 May 2014.
  5. Hamid, AbdulWahid (1998). Companions of the Prophet Vol. 1. London: MELS. p. 139. ISBN 0948196130.
  6. Sayeed, Asma (2013). Women and The Transmission of Religious Knowledge In Islam. NY: Cambridge University Press. p. 35. ISBN 978-1-107-03158-6.