การละทิ้งศาสนาอิสลาม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การละทิ้งศาสนาอิสลาม หรือ การสิ้นสภาพจากการเป็นผู้นับถือศาสนาอิสลาม (อาหรับ: ردة riddah, ริดดะฮ์ หรือ ارتداد irtidād) หมายถึงการที่ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามได้ละทิ้งศาสนาอิสลามไปยึดมั่นในการปฏิเสธด้วยความเต็มใจ โดยสามารถเป็นการปฏิเสธทางกาย ทางจิตใจ หรือทางวาจา[1][2] กรณีนี้รวมถึงผู้ที่ละทิ้งศาสนาอิสลาม อาจละทิ้งไปเปลี่ยนเข้ารับศาสนาอื่น โดยผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามโดยกำเนิด หรือผู้ที่เคยเปลี่ยนเข้ารับศาสนาอิสลามมาก่อน[3]

ปัจจุบัน ในประเทศอิสลามหลายประเทศ การละทิ้งศาสนาอิสลามถือว่าเป็นการกระทำที่บาป และผู้กระทำสามารถถูกประหารชีวิตได้ [4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Frank Griffel, Apostasy, in (Editor: Gerhard Bowering et al.) The Princeton Encyclopedia of Islamic Political Thought, ISBN 978-0691134840, pp 40-41; Diane Morgan (2009), Essential Islam: A Comprehensive Guide to Belief and Practice, ISBN 978-0313360251, pages 182-183
  2. Hebatallah Ghali (2006), Rights of Muslim Converts to Christianity Ph.D. Thesis, Department of Law, School of Humanities and Social Sciences, The American University in Cairo, Egypt, page 2; “Whereas apostate (murtad) is the person who commits apostasy (’rtidad), that is the conscious abandonment of allegiance, and renunciation of a religious faith or abandonment of a previous loyalty.”
  3. Peters & De Vries (1976), Apostasy in Islam, Die Welt des Islams, Vol. 17, Issue 1/4, p. 3, quote - "By the murtadd or apostate is understood as the Moslem by birth or by conversion, who renounces his religion, irrespective of whether or not he subsequently embraces another faith".
  4. Lewis, Bernard (1995). The Middle East, a Brief History of the Last 2000 Years. Touchstone Books. p. 229. ISBN 0684807122. สืบค้นเมื่อ 27 November 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]