อารียา สิริโสภา
อารียา สิริโสภา | |
---|---|
![]() รอบสื่อมวลชน ภาพยนตร์เรื่องพลอย ในปี พ.ศ. 2550 | |
เกิด | อารียา เย้าเยือน 28 มิถุนายน พ.ศ. 2514 แอนน์อาร์เบอร์ รัฐมิชิแกน สหรัฐ |
ชื่ออื่น | อารียา ชุมสาย[1] |
อาชีพแสดง | |
อาชีพ | นางแบบ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียน นักแสดง |
ปีที่แสดง | พ.ศ. 2537–ปัจจุบัน |
ThaiFilmDb | |
วิชาชีพทางทหาร | |
ชื่อเล่น | ป๊อป |
รับใช้ | ![]() |
บริการ/ | ![]() |
ชั้นยศ | ![]() |
บังคับบัญชา | โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า |
ร้อยโทหญิง อารียา สิริโสภา หรือ อารียา สิริโสดา[3] (เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2514) ชื่อเล่น ป๊อป เป็นนางสาวไทยประจำปี พ.ศ. 2537 (คนที่ 32 ของประเทศไทย) และเป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดนางงามจักรวาล 1994 ที่ประเทศฟิลิปปินส์
ประวัติ[แก้]
อารียาเกิดในครอบครัวเชื้อสายไทยที่นับถือศาสนาพุทธในสหรัฐ[4] เป็นบุตรของสุพงษ์ ชุมสาย[5] กับปทุมวรรณ ชุมสาย (สกุลเดิม คงเจริญเขต)[6] มารดาเป็นชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เธอมีน้องชายคือฐิติ ชุมสาย ชื่อเล่น เป้[7] จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต ประเทศสหรัฐอเมริกา เคยรับราชการเป็นอาจารย์สอนในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า มียศร้อยโทหญิง[8][9] จนมีฉายาที่คนทั่วไปเรียกกันว่า "หมวดป๊อป" ภายหลังได้ลาออก ปัจจุบันเป็นนักแสดง พิธีกร นักเขียน และผู้กำกับภาพยนตร์
ครอบครัวของอารียาเคยใช้นามสกุลว่า "เย้าเยือน" ต่อมาได้เปลี่ยนนามสกุลเป็น "ชุมสาย" เมื่อใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา ตามชื่อของญาติผู้ใหญ่ [10] ซึ่งพ้องกับราชสกุลชุมสาย ณ อยุธยา ทั้งๆ ที่ไม่ได้เป็นญาติกัน เมื่ออารียาเริ่มมีชื่อเสียงจากการประกวดนางสาวไทย และถูกเข้าใจผิดจากสื่อมวลชน บางครั้งได้ลงข่าวโดยเติม "ณ อยุธยา" ที่ท้ายนามสกุล จนถูกทักท้วงจากกลุ่มราชนิกูลในราชสกุลชุมสาย ในปี พ.ศ. 2543 เธอจึงเปลี่ยนมาใช้นามสกุล สิริโสภา ซึ่งใช้ในการประกวดนางสาวไทย มาจนถึงปัจจุบัน
ผลงาน[แก้]
ละคร[แก้]
ปี | ชื่อเรื่อง | บทบาท | ออกอากาศ |
---|---|---|---|
2540 | นิรมิต | ใกล้รุ่ง | ช่อง 7 |
2561 | ลิขิตรัก | พลตรีหญิง เสาวนี สมุทรยากร | ช่อง 3 |
กำกับภาพยนตร์[แก้]
- ปักษ์ใต้บ้านเรา (ปี พ.ศ. 2551) ภาพยนตร์สารคดี
- เด็กโต๋ (ปี พ.ศ. 2548) ภาพยนตร์สารคดี
- รากเรา (ปี พ.ศ. 2554) ภาพยนตร์สารคดี
- รายการเมล็ดพันธ์ไทย ช่องทีวีไทย
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "ภาพลักษณ์ ภาพลวง…ในวังวนภาษี". Nationejob. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2557.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ หนังสือราชกิจจานุเบกษา หน้า159 เล่ม118 ตอนที่18ข 1 ตุลาคม 2544 พระราชทานยศร้อยโทหญิงแด่ ว่าที่ร้อยโทหญิงอารียา ชุมสาย
- ↑ "ติสต์ สวย รวยกึ๋น "ป๊อป"อารียา สิริโสดา". สยามดารา. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2557.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ พีรภัทร โพธิสารัตนะ (9 เมษายน 2561). "ความปรารถนาอันสูงสุดของ ป๊อป – อารียา สิริโสดา". Goodlife Update. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ วรลักษณ์ ผ่องสุขสวัสดิ์ (3 กุมภาพันธ์ 2561). "นักเดินทางผู้ยิ่งใหญ่ที่ใช้ "ใจ" เป็นเข็มทิศ อารียา ศิริโสดา". Goodlife Update. สืบค้นเมื่อ 6 เมษายน 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "คิดถึงตลอดไป "ป๊อป อารียา" ส่งดวงวิญญาณ "แม่ต้อม" สู่สรวงสวรรค์". New TV. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "ความปรารถนาอันสูงสุด". Secret. สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2557.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ น้อยคนจะรู้! 18ศิลปินไทยที่เคยรับราชการ/รับราชการในปัจจุบัน
- ↑ นิติภูมิ นวรัตน์ (22 สิงหาคม 2544). "Pop (1)". เปิดฟ้าภาษาโลก. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2557.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ ประวัติส่วนตัว
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
บทความเกี่ยวกับชีวประวัตินี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |
- บทความที่มีลิงก์เสียตั้งแต่ตุลาคม 2021
- Pages using infobox military person with embed
- นางสาวไทย
- นักแสดงไทย
- ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2514
- นางแบบไทย
- ชาวอเมริกันเชื้อสายไทย
- บุคคลจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- บุคคลจากจังหวัดตรัง
- พุทธศาสนิกชนชาวอเมริกัน
- ทหารบกชาวไทย
- นางงามไทย
- บุคคลจากรัฐมิชิแกน
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์