อมฤตสัญจาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ผู้ริเริ่มพิธีอมฤทธิ์สัญชร]]

อมฤตสัญจาร (Amrit Sanchar) หรือ ขันเธทิปาหุล (Khande di Pahul) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า พิธีปาหุล[1] (Pahul) คือพิธีกรรมในศาสนาซิกข์ที่เป็นการรับคนเข้าสู่ศาสนาซิกข์ เปรียบได้กับพิธีศีลล้างบาป ในคริสต์นิกายคาทอลิก พิธีอมฤทธิ์สัญชรถือเป็นพิธีเริ่มแรกที่จะได้รับก่อนเข้าสู่การเป็นศาสนิกชนอย่างเต็มตัว เริ่มต้นขึ้นโดยคุรุโควินทสิงห์ เพื่อเป็นพิธีรับคนเข้าเป็นขาลสา ในปี 1699[2]

เมื่อชาวซิกข์ผ่านพิธีอมฤตสัญชรแล้ว จะถูกเรียกว่าเป็น "ขาลสา" และได้รับตำแหน่ง "อมฤตธารี" หรือ "ขาลสา" ตามหลังชื่อ "สิงห์" ในบุรุษ หรือ "Kaur" ในสตรี เป้าหมายของการเป็นขาลสาและการผ่านพิธีอมฤทธิ์สัญชรคือการประพฤติตัวเพื่อวาหิคุรุเป็นหลัก และก่อให้เกิด ขาลสาราช[3][2][4]

อ้างอิง[แก้]

  1. https://www.sikhiwiki.org/index.php/Pahul
  2. 2.0 2.1 Singh. "Amrit ceremony". BBC. สืบค้นเมื่อ 9 October 2012.
  3. Woodhead, Linda (2016). Religions in the Modern World: Traditions and Transformations. New York: Routledge. p. 140. ISBN 9780415858809.
  4. Publ. by Dharam Parchar Committee. (1994). Sikh Reht Maryada. The Code of Sikh Conduct & Conventions. Amritsar: Shiromani Gurdwara Parbandhak Committee. p. 34.