คุรุเตฆ์บะฮาดุร
คุรุเตฆ์บะฮาดุร | |
---|---|
ภาพของคุรุเตฆ์บะฮาดุร | |
เกิด | Tyaga Mal 1 เมษายน ค.ศ.1621 อมฤตสระ, รัฐปัญจาบ, จักรวรรดิโมกุล (ปัจจุบันคือประเทศอินเดีย) |
เสียชีวิต | 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1675 เดลี, จักรวรรดิโมกุล (ปัจจุบันคือประเทศอินเดีย) | (54 ปี)
สาเหตุเสียชีวิต | ถูกตัดศีรษะ |
ชื่ออื่น |
|
มีชื่อเสียงจาก | |
ผู้ดำรงตำแหน่งก่อน | คุรุหรกิศัน |
ผู้สืบตำแหน่ง | คุรุโควินทสิงห์ |
คู่สมรส | Mata Gujri |
บุตร | คุรุโควินทสิงห์ |
บิดามารดา | คุรุหรโคพินท์กับ Mata Nanaki |
คุรุเตฆ์บะฮาดุร หรือ คุรุเตฆบหาทูร (Guru Tegh Bahadur)[5][6] เป็นคุรุศาสดาท่านที่ 9 จาก 10 องค์ของศาสนาซิกข์ คุรุเตฆ์บะฮาดุรเป็นผู้ที่มุ่งมั่นรื้อฟื้นคำสอนเดิมของคุรุนานักเทพจี ท่านทรงนิพนธ์เพลงสวดและบทกลอน 116 บทเพิ่มเข้าไปในคุรุครันถสาหิพ ท่านทรงอยู่ในช่วงเวลาลำบากที่โดนจักรวรรดิโมกุลบังคับให้เปลี่ยนศาสนาเป็นอิสลาม เช่นเดียวกันกับ บัณฑิตชาวกัศมีร์ (ชาวฮินดูในกัศมีร์)[1][7] และศาสนิกชนของศาสนาอื่น ๆ จนกระทั่งในที่สุดท่านทรงถูกตัดสินประหารชีวิตโดยจักรพรรดิออรังเซพในปี 1675 ต่อหน้าสาธารณชนที่เมืองเดลี เนื่องด้วยท่านทรงไม่ยอมเปลี่ยนศาสนาเป็นอิสลาม และยังทรงให้การช่วยเหลือบัณฑิตกัศมีร์และศาสนิกชนศาสนาอื่น ๆ ในการหลบหนีและต่อต้านการบังคับนี้ผ่านกองทัพสิกข์ขาลสาต่อสู้กับกองทัพโมกุล ในวินาทีสุดท้ายก่อนการประหารชีวิต ท่านทรงได้รับข้อเสนอให้เปลี่ยนศาสนาในวินาทีสุดท้ายแล้วจะพ้นโทษหนักนี้ทันที ท่านตอบยืนยันคำเดิมว่าท่านจะคงเป็นซิกข์ตลอดไปจนถึงตราบลมหายใจสุดท้ายในพระชนม์ชีพของท่าน[3][8][9] สถานที่ประหารชีวิตและจัดการฝังพระศพท่าน ตั้งอยู่ที่ปัจจุบันคือ คุรุทวาราสีสคันชสาหิบ และ คุรุทวารารกับคันชสาหิบ ในเดลี ประเทศอินเดีย ในปัจจุบัน[10] การสละพระชนม์ชีพเพื่อความเชื่อ (martyrdom) ของท่านนั้นระลึกเป็นวันสำคัญตามปฏิทินนานักชาฮี "ชาฮีทิวาสของคุรุเตฆ์บะฮาดุร" (Shaheedi Divas of Guru Tegh Bahadur) ตรงกับวันที่ 24 พฤศจิกายนของทุกปี มาตั้งแต่ปี 2003[11]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 Pashaura Singh and Louis Fenech (2014). The Oxford handbook of Sikh studies. Oxford, UK: Oxford University Press. pp. 236–245, 444–446, Quote:"this second martyrdom helped to make 'human rights and freedom of conscience' central to its identity." Quote:"This is the reputed place where several Kashmiri Pandits came seeking protection from Auranzeb's army.". ISBN 978-0-19-969930-8.
- ↑ Gill, Sarjit S., and Charanjit Kaur (2008), "Gurdwara and its politics: Current debate on Sikh identity in Malaysia", SARI: Journal Alam dan Tamadun Melayu, Vol. 26 (2008), pages 243-255, Quote: "Guru Tegh Bahadur died in order to protect the Kashmiri Hindus' religious freedom."
- ↑ 3.0 3.1 Seiple, Chris (2013). The Routledge handbook of religion and security. New York: Routledge. p. 96. ISBN 978-0-415-66744-9.
- ↑ Gandhi, Surjit (2007). History of Sikh gurus retold. Atlantic Publishers. pp. 653–91. ISBN 978-81-269-0858-5.
- ↑ W. H. McLeod (1984). Textual Sources for the Study of Sikhism. Manchester University Press. pp. 31–33. ISBN 9780719010637. สืบค้นเมื่อ 14 November 2013.
- ↑ "The Ninth Master Guru Tegh Bahadur (1621 - 1675)". sikhs.org. สืบค้นเมื่อ 23 November 2014.
- ↑ Arvind-Pal Singh Mandair (2013). Sikhism: A Guide for the Perplexed. Bloomsbury Academic. pp. 53–54. ISBN 978-1-4411-0231-7., Quote: "The Guru's stance was a clear and unambiguous challenge, not to the sovereignty of the Mughal state, but to the state's policy of not recognizing the sovereign existence of non-Muslims, their traditions and ways of life".
- ↑ "Religions - Sikhism: Guru Tegh Bahadur". BBC. สืบค้นเมื่อ 20 October 2016.
- ↑ Pashaura Singh; Louis E. Fenech (2014). The Oxford Handbook of Sikh Studies. Oxford University Press. pp. 236–238. ISBN 978-0-19-969930-8.;
Fenech, Louis E. (2001). "Martyrdom and the Execution of Guru Arjan in Early Sikh Sources". Journal of the American Oriental Society. American Oriental Society. 121 (1): 20–31. doi:10.2307/606726. JSTOR 606726.;
Fenech, Louis E. (1997). "Martyrdom and the Sikh Tradition". Journal of the American Oriental Society. American Oriental Society. 117 (4): 623–642. doi:10.2307/606445. JSTOR 606445.;
McLeod, Hew (1999). "Sikhs and Muslims in the Punjab". South Asia: Journal of South Asian Studies. Taylor & Francis. 22 (sup001): 155–165. doi:10.1080/00856408708723379. ISSN 0085-6401. - ↑ H. S. Singha (2000). The Encyclopedia of Sikhism (over 1000 Entries). Hemkunt Press. p. 169. ISBN 978-81-7010-301-1.
- ↑ Eleanor Nesbitt (2016). Sikhism: a Very Short Introduction. Oxford University Press. pp. 6, 122–123. ISBN 978-0-19-874557-0.