อภิธานศัพท์อนิเมะและมังงะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ต่อไปนี้เป็นอภิธานศัพท์เฉพาะสำหรับอนิเมะและมังงะ อนิเมะหมายรวมถึงซีรีส์แอนิเมชัน ภาพยนตร์แอนิเมชัน และวิดีโอแอนิเมชัน ส่วนมังงะหมายรวมถึงนวนิยายภาพ ภาพวาด และงานศิลปะที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ: คำภาษาญี่ปุ่นที่ใช้โดยทั่วไป (เช่น โอนีซัง, คาวาอี และเซ็มไป) ไม่รวมอยู่ในรายการนี้

กลุ่มเป้าหมาย[แก้]

  • โคโดโมะ (子供, kodomo, แปลว่า "เด็ก"): อนิเมะและมังงะสำหรับเด็ก[1]
  • โจเซ (女性, josei, แปลว่า "ผู้หญิง"): อนิเมะและมังงะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงวัยผู้ใหญ่[1]
  • โชโจะ (少女, shōjo, แปลว่า "หญิงสาว"): อนิเมะและมังงะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงวัยรุ่น[1][2]
  • โชเน็ง (少年, shōnen, แปลว่า "ชายหนุ่ม"): อนิเมะและมังงะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ชายวัยรุ่น[1][2]
  • เซเน็ง (青年, seinen): อนิเมะและมังงะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ชายวัยผู้ใหญ่[1][2]

แนว[แก้]

  • โชโจไอ (少女愛, shōjo-ai)
  • โชตากง (ショタコン, shotakon)
  • โชเน็นไอ (少年愛, shōnen-ai)
  • ต่างโลก หรือ อิเซไก (異世界, isekai): แนวย่อยของมังงะและอนิเมะที่ตัวละครถูกย้ายหรือเกิดในแต่โลกคู่ขนาน[3][4]
  • บากูนีว (爆乳, bakunyū, แปลว่า "หน้าอกมหึมา"):[5]แนวของสื่อลามกที่แสดงภาพของผู้หญิงที่มีหน้าอกใหญ่[6] กล่าวกันว่าขนาดบราในสื่อแนวบากูนีว มากกว่า G75 แต่ต่ำกว่า M70[7]
  • บอยส์เลิฟ (ボーイズラブ, bōizu rabu): ย่อว่า "BL"
  • บาระ (爆乳, Bara, แปลว่า "กุหลาบ")
  • เมคา (mecha)
  • ยาโออิ (やおい, yaoi)
  • ยูริ (百合, yuri)
  • โลลิคอน (ロリコン, rorikon)
  • อิยาชิเก (癒し系, iyashikei, แปลว่า "เยียวยา"): แนวย่อยของแนวเสี้ยวชีวิต แสดงภาพของตัวละครที่ใช้ชีวิตอย่างสงบสุขในสิ่งแวดล้อมที่สงบ มีวัตถุประสงค์ทำให้ผู้ชมได้รับการเยียวยาใจ[8][9]
  • ฮาเร็ม (harem)

แฟนดอม[แก้]

  • คอมิเก็ต (コミケット, Komiketto, แปลว่า "ตลาดคอมิก"): งานแสดงสินค้าที่ใหญ่ที่สุดงานหนึ่งสำหรับการ์ตูนโดจินชิ ซึ่งจัดขึ้นปีละสองครั้งในอาริอาเกะ กรุงโตเกียว[10]
  • โดจินชิ (同人誌, dōjinshi): ผลงานที่ผลิตโดยแฟนผลงาน หรือมือสมัครเล่น เช่น ผลงานล้อเลียน แฟนฟิกชัน หรือแฟนมังงะ
  • นิจิกง (二次コン, nijikon)
  • ปรากฏการณ์โอดางิริ (Odagiri effect): ปรากฏการณ์ทางโทรทัศน์ที่รายการหนึ่ง ๆ ดึงดูดผู้ชมผู้หญิงจำนวนมากเกินความคาดหมาย เนื่องจากรายการดังกล่าวมีนักแสดงชายหรือตัวละครชายที่มีเสน่ห์[11][12]
  • ฟูโจชิ (腐女子, fujoshi, แปลว่า "เด็กหญิงเน่า"): แฟนผลงานผู้หญิงของผลงานแนวยาโออิ[13]
  • แฟนดับ (fandub): ย่อมาจาก "fan-made dub" หมายถึงภาพยนตร์หรือวิดีโอที่แฟนผลงานนำบทสนทนามาพากย์เสียงทับ[14]
  • แฟนซับ (fansub): ย่อมาจาก "fan-made subtitles" หมายถึงภาพยนตร์หรือวิดีโอที่แฟนผลงานแปลบทสนทนาเป็นภาษาอื่นและใส่บทบรรยายใต้ภาพของบทสนทนา[1]
  • อนิพาโร (アニパロ, aniparo): คำสแลงของการใช้ตัวละครอนิเมะโดยแฟนผลงานในเชิงล้อเลียน มาจากการรวมคำว่า "anime" (อนิเมะ) และ "parody" (ล้อเลียน)[15]
  • วีอาบู (weeaboo) หรือ วีบ (weeb)
  • ไวฟุ (waifu) / ฮัสแบนโดะ (husbando): ตัวละครสมมติจากสื่อที่ไม่ใช่คนจริง (โดยทั่วไปคืออนิเมะ มังงะ หรือวิดีโอเกม) ที่คนคนหนึ่งคลั่งไคล้หรือคิดว่าเป็นคู่ครองในอุดมคติ[16]
  • โอตากุ (おたく, オタク, ヲタク, otaku)

ลักษณะนิสัย[แก้]

  • โกเดเระ (豪デレ, goudere)
  • คูเดเระ (クーデレ, kūdere)
  • เคโมโนมิมิ (獣耳, けものミミ, ケモノミミ, kemonomimi)
  • ชูนิเบียว (中二病, chūnibyō, แปลว่า "โรคมัธยมสอง"): โดยทั่วไปใช้เพื่อกล่าววัยรุ่นช่วงต้นที่มีอาการหลงผิดมองว่าตนมีความสง่าและเชื่อว่าตนเองมีความรู้หรือพลังลับที่ซ่อนอยู่
  • ดันเดเระ (ダンデレ, dandere)
  • เดเระ (デレ, dere)
  • โดจิกโกะ (ドジっ子, dojikko)
  • บิโชโจะ (美少女, bishōjo, แปลว่า "สาวงาม"): หญิงสาวรูปงาม[17][18][19][20]
  • บิโชเน็ง (美少年, bishōnen, แปลว่า "หนุ่มงาม")
  • ยันเดเระ (ヤンデレ, yandere)
  • สึนเดเระ (ツンデレ, tsundere)
  • อาโฮเงะ (アホゲ, ahoge, แปลว่า "ผมโง่ ๆ")): หมายถึงปอยผมที่โดดเด่นซึ่งชี้ในทิศทางที่แตกต่างจากผมส่วนที่เหลือของตัวละครในอนิเมะ/มังงะ[21][22][23][24]
  • โอโตโกโนโกะ (男の娘, otokonoko, แปลว่า "ลูกสาวเพศชาย"): ผู้ชายที่มีการแสดงออกทางเพศตามวัฒนธรรมของเพศหญิง รวมถึงมีรูปลักษณ์แบบผู้หญิง หรือแต่งกายข้ามเพศ[25][26]

ศัพท์อื่น ๆ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

รายการอ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 Steiff, Josef; Tamplin, Tristan D. (2010). Anime and Philosophy: Wide Eyed Wonder. New York: Open Court. pp. 313–317. ISBN 9780812697131. สืบค้นเมื่อ June 11, 2015.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 Toku 2015, p. 241
  3. "The World of Isekai Continues to Grow with New Manga Contest". Anime News Network. สืบค้นเมื่อ March 23, 2018.
  4. "Hacking the Isekai: Make Your Parallel World Work for You". CrunchyRoll. สืบค้นเมื่อ March 23, 2018.
  5. "Word Display". WWWJDIC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 15, 2013. สืบค้นเมื่อ March 12, 2020.
  6. Moore, Lucy (August 29, 2008). "Internet of hentai". Student Life. สืบค้นเมื่อ February 10, 2010.
  7. Koya (February 8, 2006). "Nihon Josei no Heikin Size Wa?" 日本女性のブラジャーの平均サイズは? (ภาษาญี่ปุ่น). Excite Bit. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 14, 2013. สืบค้นเมื่อ March 9, 2013. Alt URL
  8. "What Is Iyashikei and Why Should You Care?". Anime News. Sentai Films. 19 March 2019. สืบค้นเมื่อ 3 November 2021.
  9. Dennison, Kara (20 September 2020). "The Anime Genre Dedicated to Relaxation". Otaku USA Magazine. สืบค้นเมื่อ 3 November 2021.
  10. McCarthy, Helen (2006). "Manga: A Brief History". 500 Manga Heroes & Villains (1st ed.). Hauppauge, New York: Barrons. p. 14. ISBN 9780764132018.
  11. Clements, Jonathan; Tamamuro, Motoko (2003). The Dorama Encyclopedia: A Guide to Japanese TV Drama Since 1953. Berkeley, California: Stone Bridge Press. p. 182. ISBN 1880656817.
  12. Clements, Jonathan (2013). Anime: A History. London: British Film Institute. p. 142. ISBN 9781844573905.
  13. Galbraith, Patrick W. (October 31, 2009). "Moe and the Potential of Fantasy in Post-Millennial Japan". Electronic Journal of Contemporary Japanese Studies. สืบค้นเมื่อ December 26, 2012.
  14. Kroon, Richard W. (2010). A/V A to Z: An Encyclopedic Dictionary of Media, Entertainment and Other Audiovisual Terms. Jefferson: McFarland & Company. p. 246. ISBN 9780786457403. สืบค้นเมื่อ 23 October 2017.
  15. Levi, Antonia; McHarry, Mark; Pagliassotti, Dru (2008). Boys' Love Manga: Essays on the Sexual Ambiguity and Cross-cultural Fandom of the Genre. Jefferson, North Carolina: McFarland & Company. p. 257. ISBN 9780786441952.
  16. Orsini, Lauren (June 12, 2015). "Why Adults Fall In Love With (And Spend Big Money On) Cartoon Characters". Forbes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 21, 2015. สืบค้นเมื่อ August 9, 2017. Full copy also at Orsini, Lauren (June 12, 2015). "Why Adults Fall In Love With (And Spend Big Money On) Cartoon Characters". The Money Street. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 10, 2017. สืบค้นเมื่อ May 3, 2019.
  17. Hedvat, Omar (12 September 2016). "Bishojo and Design – Evolution of the Cute Girl in Manga & Anime". Gurashii. สืบค้นเมื่อ 9 November 2017.
  18. Peraja, Christy (2017). How To Draw Shojo Manga VOLUME 1: Your Step By Step Guide To Drawing Shojo Manga. HowExpert. p. 126. ISBN 9781641860215. สืบค้นเมื่อ 9 November 2017.
  19. Toku 2015, p. 112
  20. Galbraith, Patrick W. (2014). Moe Manifesto: An Insider's Look at the Worlds of Manga, Anime, and Gaming. Tuttle Publishing. p. 225. ISBN 9781462914135. สืบค้นเมื่อ 9 November 2017.
  21. Toole, Michael (22 February 2015). "The Mike Toole Show - The Anime Alphabet". Anime News Network. สืบค้นเมื่อ 9 November 2017.
  22. Ruide, Koh (15 July 2017). "Japanese Twitter reveals the secret to making the perfect "ahoge" for your cosplay wig. 【Video】". SoraNews24. สืบค้นเมื่อ 9 November 2017.
  23. Annett, S. (2014). Anime Fan Communities: Transcultural Flows and Frictions. Springer. p. 177. ISBN 9781137476104. สืบค้นเมื่อ 9 November 2017.
  24. Lada, Jenni (27 February 2015). "Dynasty Warriors 8 Empires is great for building harems". TechnologyTell. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-10. สืบค้นเมื่อ 9 November 2017.
  25. "「男の娘☆」の商標登録が認められていた".
  26. Ashcraft, Brian (26 May 2011). "What Is Japan's Fetish This Week? Male Daughters". Kotaku. สืบค้นเมื่อ 5 January 2014.
  27. "CV とは|声優 業界用語集". www.esp.ac.jp. สืบค้นเมื่อ July 1, 2018.
  28. "All of Rumiko Takahashi's Manga Works Go Digital". Crunchyroll. March 22, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-23. สืบค้นเมื่อ October 22, 2017.

บรรณานุกรม[แก้]

อ่านเพิ่มเติม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]