วิทยุเสียงอเมริกา
![]() | |
ชื่อย่อ | VoA |
---|---|
ก่อตั้ง | กุมภาพันธ์ 1, 1942 |
ประเภท | ผู้กระจายเสียงนานาชาติ |
สํานักงานใหญ่ | อาคาร Wilbur J.Cohen Federal |
ที่ตั้ง |
|
ผู้อำนวยการ | Yolanda López (มกราคม 2021)[1] |
งบประมาณ (2016) | 218.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[2][3] |
พนักงาน (2016) | 1050[2][3] |
เว็บไซต์ | voanews |
วิทยุเสียงอเมริกา (อังกฤษ: Voice of America หรือ VOA) เป็นหน่วยงานสารสนเทศสหรัฐอเมริกา การกระจายเสียงวิทยุและสื่อโทรทัศน์ให้บริการโดยรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการบริหารกิจการแพร่เสียงและแพร่ภาพ (Broadcasting Board of Governors หรือ BBG) เพื่อดำเนินการในสิ่งที่ตนรับผิดชอบทางด้านการทูตสาธารณะ อย่างเช่น การโฆษณาชวนเชื่อ หรือการนำเสนอข้อมูลที่ออกแบบมาเพื่อเปลี่ยนแปลงผู้รับสื่อไปในทิศทางที่ถูก กำหนดโดยผู้ใช้สื่อ และดำเนินการภายใต้ข้อสันนิษฐานว่าปฏิกิริยาในต่างประเทศทีมีต่อสหรัฐอเมริกา ต่อประชาชนชาวอเมริกาและ ต่อนโยบายของสหรัฐอเมริกา สามารถทำให้มีอิทธิพลในทางบวกได้[4]
วิทยุเสียงอเมริกา ออกอากาศเป็นภาษาต่าง ๆ 46 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย ครอบคลุมเกือบทั้งโลก นำเสนอข่าว รายการดนตรี รายการวัฒนธรรม รายการข่าวสารทางการเมือง ผ่านดาวเทียมและระบบเอฟเอ็ม เอเอ็ม วิทยุคลื่นสั้น และยังมีทางอินเทอร์เน็ตทางเว็บไซต์ http://www.voanews.com วิทยุเสียงอเมริกามีสาขาและสัญญากับสถานีวิทยุและโทรทัศน์หลายเครือข่าย รวมถึงเครือข่ายเคเบิลทั่วโลก
ภาษาที่ให้บริการ[แก้]
เว็บไซต์ของวิทยุเสียงอเมริกา มีการออกอากาศภาษาอังกฤษ 5 ภาษาในปี 2014 (ทั่วโลก Special English กัมพูชา ซิมบับเว และทิเบต) นอกจากนี้เว็บไซต์ของวิทยุเสียงอเมริกามีภาษาต่างประเทศอีก 46 ภาษา (รายการวิทยุ กำกับด้วย "R"; รายการโทรทัศน์ กำกับด้วย "T")
- ภาษาโอโรโม R
- ภาษาแอลเบเนีย R, T
- ภาษาอัมฮาริก R
- ภาษาอาร์เมเนีย T
- ภาษาอาเซอร์ไบจาน T
- ภาษาบัมบารา R
- ภาษาเบงกอล R, T
- ภาษาบอสเนีย T
- ภาษาพม่า R, T
- ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน R, T
- ภาษาจีนกลาง R, T
- ภาษาดารี R, T
- ภาษาฝรั่งเศส R, T
- ภาษาจอร์เจีย R
- ภาษาครีโอลเฮติ R
- ภาษาฮัวซา R
- ภาษาอินโดนีเซีย R, T
- ภาษาเขมร R, T
- ภาษาคินยาร์วันดา R
- ภาษากีรุนดี R
- ภาษาเกาหลี R
- ภาษาเคิร์ด R
- ภาษาลาว R
- ภาษาลิงกาลา R
- ภาษามาซิโดเนีย T
- ภาษาเอ็นเดเบเลเหนือ R
- ภาษาปาทาน T
- ภาษาเปอร์เซีย R, T
- ภาษาโปรตุเกส R
- โรฮีนจา R
- ภาษารัสเซีย T
- ภาษาซันโก R
- ภาษาเซอร์เบีย T
- ภาษาโชนา R
- ภาษาโซมาลี R
- ภาษาสเปน R, T
- ภาษาสวาฮีลี R
- ภาษาตากาล็อก R
- ภาษาไทย R
- ภาษาทิเบต R, T
- ภาษาตึกรึญญา R
- ภาษาตุรกี T
- ภาษายูเครน T
- ภาษาอูรดู R, T
- ภาษาอุซเบก R, T
- ภาษาเวียดนาม R, T
- ภาษาโวลอฟ
- ภาษาอังกฤษ R, T
ภาคภาษาไทยเป็นหนึ่งในบรรดาภาษาเริ่ม แรกของวีโอเอ (Voice of America)[ต้องการอ้างอิง] ที่เริ่มออกอากาศในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง[ต้องการอ้างอิง] โดยผู้ประกาศรุ่นแรกๆ เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยในอเมริกา และเป็นภาคภาษาแรกที่เริ่มบุกเบิกการกระจายเสียงถึงผู้ฟังโดยตรงโดยอาศัย ความร่วมมือจากสถานีวิทยุต่างๆ ในประเทศไทย
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Biden Administration requests USAGM CEO Pack's resignation". U.S. Agency for Global Media. January 21, 2021. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021.
- ↑ 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อwapo
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อVOANews2016
- ↑ "Propaganda Reference. RED FILES: Propaganda Deep Background. 1999. PBS.org. http://www.pbs.org/redfiles/prop/deep/prop_deep_ref_detail.htm
![]() |
บทความเกี่ยวกับการสื่อสาร และโทรคมนาคมนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |