ข้ามไปเนื้อหา

วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน/การทับศัพท์ภาษาฮินดี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การทับศัพท์ภาษาฮินดีในที่นี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา)

หลักทั่วไป

[แก้]

1. หลักเกณฑ์นี้ใช้ถ่ายเสียงภาษาฮินดีที่เขียนด้วยอักษรโรมันตามระบบการเทียบคำอักษรโรมันที่นิยมใช้กันมากที่สุดในการเขียนตำราและเอกสารทางวิชาการ ซึ่งมีการใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร (diacritical mark) กำกับตัวอักษรเพื่อจำแนกความแตกต่างของอักษรแต่ละตัวได้ชัดเจน เป็นหลักในการจัดทำ

2. การเทียบเสียงสระและพยัญชนะตามหลักเกณฑ์นี้ยึดภาษาฮินดีที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นหลัก ซึ่งเรียกว่าเป็น "สระและพยัญชนะในระบบ" แต่เนื่องจากภาษาฮินดีซึ่งใช้กันอยู่ในปัจจุบันได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับ เปอร์เซีย และภาษาอื่น ๆ ด้วย หลักเกณฑ์นี้จึงได้เทียบเสียงสระและพยัญชนะที่มาจากภาษาอื่น ๆ นั้นไว้ด้วย และเรียกว่าเป็น "สระหรือพยัญชนะนอกระบบ" แต่เทียบไว้เฉพาะที่พบบ่อยเท่านั้น

3. ภาษาฮินดีที่เขียนด้วยอักษรโรมันมีทั้งที่เขียนตามระบบที่ใช้ตัวอักษรโรมันตามหลักเกณฑ์ข้อ 1. และที่ไม่ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษรกำกับตัวอักษรเนื่องจากไม่สะดวกในการพิมพ์หรือเขียน การทับศัพท์จากอักษรโรมันที่ไม่มีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรจึงอาจคลาดเคลื่อนจากศัพท์ในภาษาฮินดีไปบ้าง

4. คำบางคำในภาษาฮินดีที่เขียนด้วยอักษรโรมันเป็นคำที่เขียนตามการออกเสียงของชาวยุโรปและเป็นคำที่ใช้กันทั่วไป เช่น Delhi, Bangalore, Shillong การทับศัพท์คำเหล่านี้ให้ใช้หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษแทนหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาฮินดี

5. การทับศัพท์ภาษาฮินดีตามหลักเกณฑ์นี้ได้แสดงไว้ 3 รูปแบบ คือ

5.1 ทับศัพท์แบบคงรูป หมายถึงการทับศัพท์แบบตรงตามรูปศัพท์เดิมโดยใช้เครื่องหมายพินทุด้วย เพื่อให้ถอดกลับเป็นอักษรโรมันหรืออักษรเทวนาครีได้ถูกต้องและออกเสียงได้ใกล้เคียงกับคำเดิม การทับศัพท์รูปแบบนี้เหมาะสำหรับใช้ในหนังสือหรือเอกสารทางวิชาการ
5.2 ทับศัพท์แบบปรับรูป หมายถึงการทับศัพท์โดยปรับให้เข้ากับอักขรวิธีไทย เช่น มีการประวิสรรชนีย์ท้ายคำหรือใส่เครื่องหมายทัณฑฆาต เพื่อให้ออกเสียงได้ง่ายและรูปคำกลมกลืนกับภาษาไทย
5.3 ภาษาไทยใช้ หมายถึงคำที่มีใช้อยู่ในภาษาไทยแล้ว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต คำเหล่านี้ควรใช้ต่อไปตามเดิม คำบาลีสันสกฤตที่ไทยนำมาใช้ในภาษาไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงหลายลักษณะ เช่น
5.3.1 แผลงพยัญชนะ ฏ เป็น "ฎ", ต เป็น "ด", ป เป็น "บ" และ ว เป็น "พ" เช่น
อักษรโรมัน

īka
tej
pātāl
Vārāṇasī
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

ฏีกา

าตาล
าราณสี
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

ฏีกา
ชะ
าตาละ
าราณสี
ภาษาไทยใช้

ฎีกา
ชะ, เ
าดาล
าราณสี
5.3.2 แผลงสระเสียงสั้นเป็นเสียงยาว หรือเสียงยาวเป็นเสียงสั้น เช่น
อักษรโรมัน

bahu
dev
muni
vīthi
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

หุ
เทว
มุนิ
วีถิ
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

หุ
เทว
มุนิ
วีถิ
ภาษาไทยใช้

หู
เทว
มุนี
วิถี
5.3.3 ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตเพื่อให้ออกเสียงคำนั้นได้ง่ายขึ้นและกลมกลืนกับภาษาไทย เช่น
อักษรโรมัน

madhyasth
Nārāya
pūr
śabd
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

มธฺยสฺถ
นารายณ
ปูรฺณ
ศพฺท
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

มัธยัสถะ
นารายณะ
ปูรณะ
ศัพทะ
ภาษาไทยใช้

มัธยัสถ์
นารายณ์
บูรณ์
ศัพท์

6. การเทียบเสียงสระและพยัญชนะให้ถือตามตารางเทียบเสียงสระภาษาฮินดีและตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาฮินดี

7. การเรียงสระและพยัญชนะในภาษาฮินดีที่ใช้ในตารางเทียบเสียงตามหลักเกณฑ์นี้ เรียงตามลำดับอักษรโรมัน

8. สระและพยัญชนะภาษาฮินดีที่เขียนด้วยอักษรโรมัน มีดังนี้

สระและพยัญชนะในระบบ
สระในระบบ:
 a = –ะ, –ั  ā = –า  i = –ิ  ī = –ี  u = –ุ
 ū = –ู   (เมื่ออยู่ต้นคำหรือตามหลังพยัญชนะ) = ฤ
 e = เ–  ai = ไ–  o = โ–  o (ตามหลังสระ) = ว  au = เ–า
พยัญชนะในระบบ:
 วรรค ก (กะ):  k = ก (กะ)  kh = ข (ขะ)  g = ค (คะ)  gh = ฆ (ฆะ)   = ง (งะ)
 วรรค จ (จะ):  c = จ (จะ)  ch = ฉ (ฉะ)  j = ช (ชะ)  jh = ฌ (ฌะ)  ñ = ญ (ญะ)
 วรรค ฏ (ฏะ):   = ฏ (ฏะ)  ṭh = ฐ (ฐะ)   = ฑ (ฑะ)  ḍh= ฒ (ฒะ)   = ณ (ณะ)
 วรรค ต (ตะ):  t = ต (ตะ)  th = ถ (ถะ)  d = ท (ทะ)  dh = ธ (ธะ)  n = น (นะ)
 วรรค ป (ปะ):  p = ป (ปะ)  ph = ผ (ผะ)  b = พ (พะ)  bh = ภ (ภะ)  m = ม (มะ)
 อวรรค (เศษวรรค):  y = ย (ยะ)  r = ร (ระ)  l = ล (ละ)  v = ว (วะ)  ś = ศ (ศะ)
  = ษ (ษะ)  s = ส (สะ)  h = ห (หะ)
สัญลักษณ์พิเศษ:
  (ใช้แทนจันทรพินทุ) = ง   (ใช้แทนอนุสวาร) = ง   = ห์
สระและพยัญชนะนอกระบบ
สระนอกระบบ:
 āī = –าย, –าอี  iā = เ–ีย, –ยา  u = –ุ
พยัญชนะนอกระบบ:
 q = ก  kh = ข  g̱ = ค  z = ซ  d = ด
 b = บ  f = ฟ   = ร  ṛh = รฺห  h = ห, ฮ

9. การใช้เครื่องหมายพินทุ ใช้ในการทับศัพท์แบบคงรูป โดยใส่ไว้ใต้พยัญชนะไทยที่ถอดมาจากพยัญชนะโรมันที่ไม่มีสระกำกับ เช่น

อักษรโรมัน

candra
jhānsī
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

นฺทฺระ
ฌานฺสี
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

จันทระ
ฌานสี
ภาษาไทยใช้

จันทร์, จันทรา
ยกเว้นพยัญชนะท้ายคำซึ่งเดิม (ในภาษาบาลีและสันสกฤต) มี a กำกับ แต่ในภาษาฮินดีตัดออกไป ไม่ต้องใส่พินทุใต้พยัญชนะนั้น เช่น
อักษรโรมัน

karm
pātāl
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

กรฺ
ปาตา
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

กรรมะ
ปาตาละ
ภาษาไทยใช้

กรร
บาดา
แต่ถ้าพยัญชนะท้ายคำไม่มี a กำกับมาแต่เดิม ก็ใส่พินทุกำกับไว้ด้วย เช่น
อักษรโรมัน

brahmacārin
samrā
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

พฺรหฺมจารินฺ
สมฺราฏฺ
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

พรหมจาริน
สัมราฏ
ภาษาไทยใช้

10. การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ใช้ในการทับศัพท์แบบปรับรูปในคำที่เป็นคำนอกระบบ (ไม่ได้มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต) โดยใส่บนพยัญชนะที่ไม่ต้องการให้ออกเสียง เช่น

อักษรโรมัน

bādshāh
Kutubminār
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

บาดฺชาหฺ
กุตุบฺมินารฺ
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

บาดชาห์
กุตุบมินาร์
ภาษาไทยใช้

11. การประวิสรรชนีย์ท้ายคำ ใช้ในการทับศัพท์แบบคงรูปและปรับรูป ดังนี้

11.1 ใช้ทับศัพท์สระ a เมื่ออยู่ท้ายคำทั้งแบบคงรูปและปรับรูป เช่น
อักษรโรมัน

mantra
śiya
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

มนฺตฺร
ศิษฺย
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

มันตร
ศิษย
ภาษาไทยใช้

มนตร์
ศิษย์
11.2 ถ้าพยัญชนะท้ายคำมี a มาแต่เดิม (ในภาษาบาลีและสันสกฤต) แต่ในภาษาฮินดีได้ตัดออก ในการทับศัพท์แบบปรับรูปให้ประวิสรรชนีย์ด้วย เช่น
อักษรโรมัน

pūr
sasār
ทับศัพท์
(แบบคงรูป)

ปูรฺณ
สงฺสาร
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)

ปูรณ
สังสาร
ภาษาไทยใช้

บูรณ์
สงสาร, สังสาร (วัฏ)

ตารางเทียบเสียง

[แก้]

เสียงพยัญชนะ

[แก้]
อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรเทวนาครี ตัวอย่าง
อักษรโรมัน ทับศัพท์
(แบบคงรูป)
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)
ภาษาไทยใช้
B
 b  พ  ब  Buddh  พุทฺธ  พุทธะ  พุทธะ, พุทธ
 śabd  ศพฺ  ศัทะ  ศัท์
 Śatābdi  ศตาพฺทิ  ศตาทิ
 b[# 1]  บ  ब  baṛā  รา  รา
 kitāb  กิตาบฺ  กิตา
 Kutubminār  กุตุบฺมินารฺ  กุตุมินาร์
 bh  ภ  भ  abhyās  อภฺยาส  อัยาสะ
 Bhīm  ภี  ภีมะ  ภีมะ, ภี
C
 c[1]  จ  च  baccā  บจฺจ  บัจจ
 candra  นฺทฺระ  จันทระ  จันทร์
 ch[2]  ฉ  छ  chatr  ตฺร  ฉัตระ  ฉัตร, ฉัตรา
D
 d  ท  द  Buddh  พุทฺ  พุธะ  พุธะ, พุ
 dās  าส  าสะ  าส, าสา
 d[# 1]  ด  द  bādshāh  บาดฺชาหฺ  บาชาห์
 Delhī  เลฺฮี  เลฮี  เลี
 [3]  ฑ[4]  ड  amaru  มรุ  มรุ
 krīā  กฺรี  กรี  กรี
 laḍḍū  ลฑฺฑู  ลัฑฑู
 dh  ธ  ध  dharm  รฺม  รรมะ  รรม
 Madhya Pradeś  มธฺยะ ปฺรเทศ  มัยะ ปรเทศะ  มัยประเทศ
 nidhi  นิธิ  นิธิ  นิธิ
 ḍh  ฒ  ढ  ḍhol  โลฺ  โละ
F
 f[# 1]  ฟ  फ़  faqīr  กีรฺ  กีร์
 gaffār  กฟฺฟารฺ  กัฟฟาร์
G
 g  ค  ग  agni  อคฺนิ  อันิ  อันี
 go  โ  โ  โ
 g̱[# 1][5]  ค  ग़  bā  บาคฺ  บา
 aznavid  ซฺนวิดฺ  คัซนวิด
 aznī  ซฺนี  คัซนี
 iyas-ud-dīn  คิยสฺอุดฺดีนฺ  คิยัส-อุด-ดีน
 Moul, Mual  โมลฺ, มุลฺ  โมคัล, มุคั  โมกุล, มุคั
 Tulākābād  ตุคฺลากาบาด  ตุลากาบาด
 gh  ฆ  घ  bāgh  พาฆฺ  พา
 gho  โ  โษะ  โษะ, โ
H
 h  ห  ह  brahm  พฺรหฺ  พรมะ  พร
 Himālay  หิมาลย  หิมาลยะ  หิมาลัย
 h[# 1]  ห, ฮ  ह  Ahmadābād  อหฺมดาบาดฺ  อัห์มดาบาด
 Hindū  ฮินฺดู  ฮินดู  ฮินดู
   ห์  ः  dukh  ทุห์  ทุห์ขะ  ทุกข์
J
 j  ช  ज  jay    ยะ  ชัย, ชัยโย
 vijñān  วิชฺญาน  วิญานะ  วิญญาณ
 jh  ฌ  झ  jhānsī  านฺสี  านสี
K
 k  ก  क  Kuru  กุรุ  กุรุ
 yak  ยกฺ  ยัษะ  ยัษ์, ยัษา
 kh  ข  ख  Kharoṣṭhī  โรษฺฐี  โรษฐี
 Sikh  สิ  สิ  สิ, สิกข์
 śikhar  ศิ  ศิระ  ศิ
 kh[# 1][6]  ข  ख़  Ālī Khān  อาลี านฺ  อาลี าน  อาลี ข่าน
 Bakht Khān  บขฺตฺ าน  บัต์ าน
 khilāfat  ขิลาฟตฺ  ขิลาฟัต
L
 l  ล  ल  Lakma  กฺษฺมณ  ลักษมณะ  ลักษมัณ, ลักษมณ์
 vallabh  วลฺล  วัลลภะ  วัลลภ, วัลลภา
M
 m  ม  म  Mahādev  หาเทว  หาเทวะ  หาเทพ
 samrāṭ  สมฺราฏฺ  สัราฏ
 [7]  ง  ँ  hū  ฮู  ฮู
 [8]  ง  ं  daṣṭrā  ทงฺษฺฏฺรา  ทัษฏรา
 sahitā  สงฺหิตา  สัหิตา
 sasār  สงฺสาร  สัสาระ  สสาร, สัสาร (วัฏ)
 sayog  สงฺโยค  สัโยคะ  สัโยค
N
 n  น  न  mantra  มนฺตฺระ  มัตระ  มตร์
 nīti  นีติ  นีติ  นีติ, นิติ
 [9]  ง  ङ  ag  องฺ  อัคะ  อค์
 ñ[10]  ญ  ञ  Sañjay  สญฺชย  สัญชยะ  สชัย, สัชัย
 [11]  ณ  ण  maan  มณฺฑน  มัฑนะ  มัฑนา
P
 p  ป  प  Pāṭaliputra  าฏลิปุตฺระ  าฏลิปุตระ  าฏลีบุตร
 pitā  ปิตา  ปิตา  บิดา
 prāpt  ปฺราปฺ  ราตะ  ราบดา (ภิเษก)
 samāpt  สมาปฺ  สมาตะ
 ph  ผ  फ  phal  ล [ผะ-ละ]  ละ [ผะ-ละ]  ล [ผน]
Q
 q[# 1][12]  ก  क़  qilā  กิลา  กิลา
R
 r  ร  र  rājadhānī  าชธานี  าชธานี  าชธานี
 [# 1][13]  ร  ड़  baā  บ  บ
 baba  บรฺรฺ  บ
 bīī  บีรี  บีรี
 Kāṭhiāvā  กาเฐียวารฺ, กาฐยาวารฺ  กาเฐียวา, กาฐยาวา
 ṛh[# 1][14]  รฺห[15]  ढ़  Caṇḍīgaṛh  จณฺฑีครฺห  จัณฑีครห์
S
 s  ส  स  Somadev  โมเทว  โมเทวะ  โมเทพ
 vastu  วสฺตุ  วัตุ  วัดุ, พัดุ
 ś[16]  ศ  श  Kaśyap  กศฺยป  กัยปะ  กัยป
 śāstra  าสฺตฺร  าสตระ  าสตร์
 [17]  ษ  ष  aḍānan  ฑานน  ฑานนะ
 śiya  ศิษฺ  ศิยะ  ศิย์
T
 t  ต  त  pātāl  ปาาล  ปาาละ  บาดาล
 pātra  ปาตฺระ  ปาระ  บา
 tapas  ปสฺ  ปัส  บะ
 [18]  ฏ  ट  Bhaṭṭācārya  ภฏฺฏาจารฺยะ  ภัฎฎาจารยะ  ภัฏฏาจารย์
 īkā  ฏีกา  ฏีกา  ฎีกา
 th  ถ  थ  path  ป  ป  บ
 sthān  สฺาน  สานะ  สาน, สานะ
 thambh  มฺภ  ถัมภะ
 ṭh[19]  ฐ  ठ  jhūṭh  ฌูฐฺ  ฌู
 pīṭh  ปี  ปี  บิ
 ṭhākur  ากุรฺ  ากุรฺ  ากูร
V
 v[20]  ว  व  divya  ทิวฺยะ  ทิยะ  ทิพย์
 Viśvanāth  วิศฺนาถ  วินาถะ  วินาถ
Y
 y  ย  य  pey  เป  เป
 Yamunā  มุนา  มุนา  มนา, มุนา
Z
 z[# 1]  ซ  ज़  āzād  อาาดฺ  อาาด
 G̱aznī  คซฺนี  คันี
 zang̱ārī  งฺคารี  ซังคารี
หมายเหตุ
  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 พยัญชนะนอกระบบ
  1. บางครั้งมีผู้ใช้ ch แทน c เช่น candra = จันทระ ใช้เป็น chandra
  2. บางครั้งมีผู้ใช้ chh แทน ch เช่น chatr = ฉัตระ ใช้เป็น chhatr
  3. บางครั้งมีผู้ใช้ แทน เช่น krīā = กรีฑา ใช้เป็น krīā
  4. พยัญชนะ ฑ ในภาษาฮินดีออกเสียงใกล้เคียงเสียง ด ในภาษาไทย
  5. บางครั้งมีผู้ใช้ g, g̣, gh แทน g̱ เช่น bā = บาค ใช้เป็น bāg, bā, bāgh
  6. บางครั้งมีผู้ใช้ ḳḥ, ḳh แทน kh เช่น khilāfat = ขิลาฟัต ใช้เป็น ḳḥilāfat, ḳhilāfat
  7. ใช้แทนจันทรพินทุ (candrabindu) เป็นเครื่องหมายกำกับสระเพื่อให้ออกเสียงขึ้นจมูกคล้ายเสียง "ง" จึงใช้ "ง" แทน
  8. ใช้แทนอนุสวาร (anusvāra) เป็นเครื่องหมายกำกับสระ เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะเศษวรรคจะออกเสียงขึ้นจมูกฟังคล้ายเสียง "ง" จึงใช้ "ง" แทน
  9. ที่เป็นตัวสะกดและตามด้วยพยัญชนะในวรรค ก (k, kh, g, gh, ) จะออกเสียงเป็น "ง" และบางทีก็ใช้ n, ng แทน ṅ เช่น ag = อังคะ ใช้เป็น ang, angg
  10. ñ ที่เป็นตัวสะกดและตามด้วยพยัญชนะในวรรค จ (c, ch, j, jh, ñ) จะออกเสียงเป็น "ญ" และบางทีก็ใช้ n แทน ñ เช่น Sañjay = สัญชยะ ใช้เป็น Sanjay
  11. ที่เป็นตัวสะกดและตามด้วยพยัญชนะในวรรค ฏ (, ṭh, , ḍh, ) จะออกเสียงเป็น "ณ" และบางทีก็ใช้ n, แทน เช่น maan = มัณฑนะ ใช้เป็น manan, maan
  12. บางครั้งมีผู้ใช้ แทน q เช่น qilā = กิลา ใช้เป็น ilā
  13. บางครั้งมีผู้ใช้ แทน เช่น baā = บรา ใช้เป็น baā
  14. บางครั้งมีผู้ใช้ rh แทน ṛh เช่น Caṇḍīgaṛh = จัณฑีครห์ ใช้เป็น Caṇḍīgarh
  15. รฺห แทนพยัญชนะตัวเดียวในภาษาฮินดีที่ออกเสียงเหมือน ร ตามด้วยกลุ่มลม
  16. บางครั้งมีผู้ใช้ sh แทน ś เช่น śāstra = ศาสตระ ใช้เป็น shāstra
  17. บางครั้งมีผู้ใช้ s, sh แทน เช่น aḍānan = ษฑานนะ ใช้เป็น Saḍānan, Shaḍānan
  18. บางครั้งมีผู้ใช้ แทน เช่น īkā = ฏีกา ใช้เป็น īkā
  19. บางครั้งมีผู้ใช้ th แทน ṭh เช่น pīṭh = ปีฐะ ใช้เป็น pīth
  20. - บางครั้งมีผู้ใช้ w แทน v เช่น divya = ทิวยะ ใช้เป็น diwya
        - v ที่มี a ตามหลัง และเป็นพยางค์ท้ายของคำ บางครั้งจะตัด a ที่ตามมาออก แล้วเปลี่ยน v เป็น o เช่น deva ตัด a ท้ายคำออก เป็น "dev" แล้วเปลี่ยน v เป็น o เป็น deo

เสียงสระ

[แก้]
อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรเทวนาครี ตัวอย่าง
อักษรโรมัน ทับศัพท์
(แบบคงรูป)
ทับศัพท์
(แบบปรับรูป)
ภาษาไทยใช้
A
 a (เมื่อไม่ได้อยู่ท้ายคำ)
 अ  nar  นร  นระ  นร, นระ, นรา
 a (เมื่อตามด้วยพยัญชนะที่ไม่มีสระ
 ตามมา และไม่ใช่พยางค์สุดท้าย)
 –ฺ
 แบบคงรูป[1]
 ไม่ปรากฏรูป  samrāṭ  สมฺราฏฺ  สัมราฏ
 –ั
 แบบปรับรูป[2]
 a (เมื่ออยู่ท้ายคำ)  –ะ  ไม่ปรากฏรูป  puya  ปุณฺย  ปุณย  บุณย์
 ā  –า  आ  Nārāya  นยณ  นยณะ  นยณ์
 ai[3]  ไ–  ऐ  kailās  กลาส  กลาสะ  กรลาส, กลาส
 āī[# 1]  –าย, –าอี  आई  kasturbāī  กสฺตุรฺบาย, กสฺตุรฺบาอี  กัสตุรบาย, กัสตุรบาอี
 au[4]  เ–า  औ  gaurav  รว  รวะ  รพ
E
 e  เ–  ए  dev  ทว  ทวะ  ทวะ, ทวา, ทพ
I
 i  –ิ  इ  Śiv  ศิ  ศิวะ  ศิวะ
 ī[5]  –ี  ई  nārī  นารี  นารี  นารี
 iā[# 1]  เ–ีย, –ยา  इआ  Kāṭhiāvāṛ  กาเฐียวารฺ, กาฐยาวารฺ  กาเฐียวาร, กาฐยาวาร
O
 o  โ–  ओ  lok  ลก  ลกะ  ลก, ลกา
 o (เมื่อตามหลังสระ)  ว  व  deo  เท  เท  เทะ, เทา, เทพ
 Rao, Rāo  ราวฺ  รา
U
 u  –ุ  उ  guru  คุรุ  คุรุ  คุรุ, ครู
 u[# 1]  –ุ[6]  उ  Kutubminār  กุตุบฺมินารฺ  กุตุบมินาร์
 ū[7]  –ู  ऊ  pūr  ปูรฺณ  ปูรณะ  บูรณ์
R
  (เมื่ออยู่ต้นคำหรือตามหลังพยัญชนะ)[8]  ฤ  ॠ  pit  ปิตฺ  ปิต
 i  ษิ  ษิ  ษี, ฤๅษี
หมายเหตุ
  1. 1.0 1.1 1.2 สระนอกระบบ
  1. เครื่องหมายพินทุใส่ใต้พยัญชนะหลังสระ a ในคำทับศัพท์แบบคงรูป
  2. ยกเว้นพยัญชนะที่ตามมาเป็น h, v ไม่ต้องเปลี่ยนเป็นไม้หันอากาศ เช่น brahm = พรหมะ gaurav = เคารวะ Navaya = นวยะ และถ้าพยัญชนะที่ตามมาเป็น r ให้ใช้ "รร" เช่น karm = กรรมะ gandharv = คันธรรวะ
  3. บางครั้งมีผู้ใช้ y แทน ai เช่น Faizābād = ไฟซาบาด ใช้เป็น Fyzābād, Haiderābād = ไฮเดอราบาด ใช้เป็น Hyderābād และบางครั้งก็ใช้ ai แทน ay เช่น jay = ชยะ ใช้เป็น jai
  4. บางครั้งมีผู้ใช้ ow แทน au เช่น cauk = เจาก์ ใช้เป็น chowk
  5. บางครั้งมีผู้ใช้ ee แทน ī เช่น Mīra = มีรา ใช้เป็น Meerā, Nīra = นีรา ใช้เป็น Neerā
  6. มีบางคำออกเสียง "อะ" เช่น Mog̱ul = โมคัล Trivandrum = ตริวันดรัม
  7. บางครั้งมีผู้ใช้ oo แทน ū เช่น Mūl = มูล ใช้เป็น Mool, Pūna = ปูนา ใช้เป็น Poonā
  8. บางครั้งมีผู้ใช้ ri แทน เช่น pit = ปิตฤ ใช้เป็น pitri

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]