ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2517

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2517
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว9 มกราคม พ.ศ. 2517
ระบบสุดท้ายสลายตัว24 ธันวาคม พ.ศ. 2517
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อกลอเรีย
 • ลมแรงสูงสุด220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด930 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด35 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด32 ลูก
พายุไต้ฝุ่น16 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น0 ลูก (สถิติจำนวนต่ำที่สุด)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดไม่ทราบ
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2515, 2516, 2517, 2518, 2519

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2517 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2517 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2517) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

พายุ[แก้]

ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ปีนี้มีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นจำนวน 35 ลูก ในจำนวนนี้ 32 ลูกพัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน มี 16 ลูกพัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น และไม่มีพายุใดเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเลย[1] ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลล่าสุดที่ไม่มีพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเลย[2]

พายุโซนร้อนวานดา (อาตัง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 14 มกราคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

การแปรปรวนของลมในเขตร้อนก่อตัวขึ้นในวันที่ 8 มกราคม ทางตะวันตกเฉียงใต้ของปาเลา[1] ในวันรุ่งขึ้น การแปรปรวนทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน และเป็นพายุโซนร้อน วานดามีกำลังสูงสุดในวันที่ 10 มกราคม ด้วยความเร็วลม 65 ไมล์ต่อชั่วโมง ต่อมาพายุอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนในวันที่ 11 มกราคม และสลายตัวไปในวันที่ 14 มกราคม[3]

พายุโซนร้อนเอมี[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 21 มีนาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเบบ[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 25 เมษายน – 3 พฤษภาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคาร์ลา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 8 พฤษภาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 05W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 8 มิถุนายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุไต้ฝุ่นไดนาห์ (บีซิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 14 มิถุนายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอ็มมา (กลาริง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 19 มิถุนายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฟรีดา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 23 มิถุนายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นกิลดา (เดลิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 มิถุนายน – 8 กรกฎาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแฮเรียต (กาดิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 20 กรกฎาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนจีน (เฮลิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไอวี (อีเลียง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 24 กรกฎาคม
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคิม[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 – 28 กรกฎาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูซี (มีดิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแมรี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 26 สิงหาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 16W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 15 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเนดีน (โนร์มิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 18 สิงหาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นพอลลี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 24 สิงหาคม – 8 กันยายน
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 20W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 26 – 31 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโรส (โอยัง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเชอร์ลีย์ (ปาซิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 11 กันยายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนทริกซ์[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 8 กันยายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเวอร์จิเนีย[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 17 กันยายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเวนดี (รูปิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 30 กันยายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแอกเนส[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 24 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเบสส์ (ซูซัง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 14 ตุลาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคาร์เมน (เตริง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 20 ตุลาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเดลลา (อูดิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเอเลน (เวนิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 23 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเฟย์ (ยานิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 31 ตุลาคม – 5 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นกลอเรีย (อานิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 10 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเฮสเตอร์[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 15 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเออร์มา (บีดัง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม
ความรุนแรง 215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนจูดี[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 19 ธันวาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนคิต (เดลัง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 24 ธันวาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Annual Typhoon Report 1974" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-25. สืบค้นเมื่อ 2012-10-30.
  2. "Annual Tropical Cyclone Report 2011" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. p. 14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-10-16. สืบค้นเมื่อ 2012-10-30.
  3. "Tropical Storm #1". Unisys Weather. สืบค้นเมื่อ 2016-12-05.