จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2518 แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล ระบบแรกก่อตัว 21 มกราคม พ.ศ. 2518 ระบบสุดท้ายสลายตัว 30 ธันวาคม พ.ศ. 2518 พายุมีกำลังมากที่สุด ชื่อ จูน • ลมแรงสูงสุด 295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที ) • ความกดอากาศต่ำที่สุด 875 hPa (มิลลิบาร์ )
สถิติฤดูกาล พายุดีเปรสชันทั้งหมด 25 ลูก พายุโซนร้อนทั้งหมด 20 ลูก พายุไต้ฝุ่น 14 ลูก พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น 3 ลูก (ไม่เป็นทางการ) ผู้เสียชีวิตทั้งหมด มากกว่า 229,160 ความเสียหายทั้งหมด > 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ(ค่าเงิน USD ปี 1975)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2516 , 2517 , 2518 , 2519 , 2520
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2518 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2518 แต่พายุหมุนเขตร้อน ส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัว ขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2518 ) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้
ในปีนี้ มีพายุบางลูกที่มีความโดดเด่น นั่นคือ พายุไต้ฝุ่นนีนา ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอุทกภัยจากเขื่อนบ่านเฉียว ทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 229,000 คน และพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นจูน ซึ่งเป็นพายุที่มีความรุนแรงที่สุด บันทึกความกดอากาศต่ำสุดได้ 875 มิลลิบาร์ จนถูกแย่งตำแหน่งไปโดยพายุไต้ฝุ่นทิป ในปี พ.ศ. 2522 ด้วยความกดอากาศ 870 มิลลิบาร์
ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุดีเปรสชันเขตร้อน 25 ลูก ในจำนวนนี้ 20 ลูก พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 14 ลูก และในจำนวนนั้น 3 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[ 1]
พายุไต้ฝุ่นลอลา (อูริง)[ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 02W[ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นนีนา (เบเบง)[ แก้ ]
นีนา เป็นพายุที่มีช่วงชีวิตสั้นแต่ทวีกำลังแรงเป็นพายุไต้ฝุ่นได้อย่างรวดเร็ว หลังจากก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม มันพัดเข้าที่ประเทศไต้หวัน ในฐานะพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น และคงความรุนแรงได้ในระดับพายุไต้ฝุ่นขณะเคลื่อนผ่านเกาะ เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิต 25 ราย และสร้างความเสียหายอย่างกว้างขวาง จากนั้นมันเคลื่อนตัวลงสู่ช่องแคบฟอร์โมซา และอ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน นีนามุ่งหน้าต่อไปยังแผ่นดินของประเทศจีน จากปฏิกิริยาระหว่างความชื้นและแนวปะทะอากาศเย็น ทำให้เกิดเป็นปริมาณน้ำฝนขนาดมหึมา ปริมาณฝนเป็นสาเหตุให้เขื่อนบ่านเฉียว แตกออก และส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 229,000 คน
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 05W (การิง)[ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA )
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
5 – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง
55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม. ) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ
พายุไต้ฝุ่นออรา (ดีดิง)[ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นฟิลลิส (เอตัง)[ แก้ ]
พายุโซนร้อนไวโอลา (เฮนิง)[ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นอลิซ (เฮร์มิง)[ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นเบตตี (อีซิง)[ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นคอรา (ลูดิง)[ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเอลซี (มาเมง)[ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 18W (เนเนง)[ แก้ ]
พายุโซนร้อนเกรซ (โอเนียง)[ แก้ ]
พายุโซนร้อนเฮเลน (เปปัง)[ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นจูน (โรซิง)[ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นจูนเป็นพายุที่ทรงพลังที่สุดของฤดูกาล แต่ไม่ส่งผลกระทบใดต่อแผ่นดิน ในเวลานั้น พายุไต้ฝุ่นจูนถูกบันทึกว่าเป็นพายุที่มีความรุนแรงที่สุด ในบรรดาพายุหมุนเขตร้อนทั่วโลก ด้วยความกดอากาศต่ำที่สุด 875 มิลลิบาร์ และพายุไต้ฝุ่นจูนยังเป็นกรณีแรกของพายุไต้ฝุ่นที่ถูกบันทึกว่ามีกำแพงตาสามชั้น [ 2]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 24W (ซีซัง)[ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA )
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
26 – 30 ธันวาคม
ความรุนแรง
55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม. ) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 25W[ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
26 – 30 ธันวาคม
ความรุนแรง
55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม. ) (1 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ
รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ชื่อแรกที่ใช้ในปี 2518 คือ ลอลา และชื่อสุดท้ายคือ จูน
แอกเนส (Agnes)
บอนนี (Bonnie)
คาร์เมน (Carmen)
เดลลา (Della)
เอเลน (Elaine)
เฟย์ (Faye)
กลอเรีย (Gloria)
เฮสเตอร์ (Hester)
เออร์มา (Irma)
จูดี (Judy)
คิต (Kit)
ลอลา (Lola) 1W
แมมี (Mamie) 3W
นีนา (Nina) 4W
ออรา (Ora) 6W
ฟิลลิส (Phyllis) 7Ws
ริตา (Rita) 8W
ซูซาน (Susan) 9W
เทสส์ (Tess) 10W
ไวโอลา (Viola) 11W
วินนี (Winnie) 12W
อลิซ (Alice) 13W
เบตตี (Betty) 14W
คอรา (Cora) 15W
ดอริส (Doris) 16W
เอลซี (Elsie) 17W
ฟลอสซี (Flossie) 19W
เกรซ (Grace) 20W
เฮเลน (Helen) 21W
ไอดา (Ida) 22W
จูน (June) 23W
แคที (Kathy)
ลอร์นา (Lorna)
มารี (Marie)
แนนซี (Nancy)
ออลกา (Olga)
พาเมลา (Pamela)
รูบี (Ruby)
แซลลี (Sally)
เทอรีส (Therese)
ไวโอเลต (Violet)
วิลดา (Wilda)
แอนิตา (Anita)
บิลลี (Billie)
แคลรา (Clara)
ดอต (Dot)
เอลเลน (Ellen)
แฟรน (Fran)
จอร์เจีย (Georgia)
โฮป (Hope)
ไอริส (Iris)
โจน (Joan)
เคต (Kate)
ลูอิส (Louise)
มาร์ช (Marge)
นอรา (Nora)
โอปอล (Opal)
แพตซี (Patsy)
รูท (Ruth)
ซาราห์ (Sarah)
เทลมา (Thelma)
เวรา (Vera)
วานดา (Wanda)
เอมี (Amy)
เบบ (Babe)
คาร์ลา (Carla)
ไดนาห์ (Dinah)
เอ็มมา (Emma)
ฟรีดา (Freda)
กิลดา (Gilda)
แฮเรียต (Harriet)
ไอวี (Ivy)
จีน (Jean)
คิม (Kim)
ลูซี (Lucy)
แมรี (Mary)
เนดีน (Nadine)
โอลีฟ (Olive)
พอลลี (Polly)
โรส (Rose)
เชอร์ลีย์ (Shirley)
ทริกซ์ (Trix)
เวอร์จิเนีย (Virginia)
เวนดี (Wendy)
อูริง (Auring)
เบเบง (Bebeng)
การิง (Karing)
ดีดิง (Diding)
เอตัง (Etang)
เฮนิง (Gening)
เฮร์มิง (Herming)
อีซิง (Ising)
ลูดิง (Luding)
มาเมง (Mameng)
เนเนง (Neneng)
โอเนียง (Oniang)
เปปัง (Pepang)
โรซิง (Rosing)
ซีซัง (Sisang)
ตรีนิง (Trining) (ยังไม่ใช้)
ยูริง (Uring) (ยังไม่ใช้)
วาร์ลิง (Warling) (ยังไม่ใช้)
ยายัง (Yayang) (ยังไม่ใช้)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาดิง (Ading) (ยังไม่ใช้)
บารัง (Barang) (ยังไม่ใช้)
กรีซิง (Krising) (ยังไม่ใช้)
ดาดัง (Dadang) (ยังไม่ใช้)
เอร์ลิง (Erling) (ยังไม่ใช้)
โกยิง (Goying) (ยังไม่ใช้)