ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2519
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2519 | |
---|---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | |
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | 26 มกราคม พ.ศ. 2519 |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 30 ธันวาคม พ.ศ. 2519 |
พายุมีกำลังมากที่สุด | |
ชื่อ | ลูอิส |
• ลมแรงสูงสุด | 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที) |
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 895 hPa (มิลลิบาร์) |
สถิติฤดูกาล | |
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 30 ลูก |
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 25 ลูก |
พายุไต้ฝุ่น | 14 ลูก |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น | 4 ลูก (ไม่เป็นทางการ) |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | ไม่ทราบ |
ความเสียหายทั้งหมด | ไม่ทราบ |
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2519 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2519 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2519) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้
ภาพรวมฤดูกาล
[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (≤62 กม./ชม.) | พายุเฮอริเคนระดับ 3 (178–208 กม./ชม.) |
พายุโซนร้อน (63–117 กม./ชม.) | พายุเฮอริเคนระดับ 4 (209–251 กม./ชม.) |
พายุเฮอริเคนระดับ 1 (118–153 กม./ชม.) | พายุเฮอริเคนระดับ 5 (≥252 กม./ชม.) |
พายุเฮอริเคนระดับ 2 (154–177 กม./ชม.) |
พายุ
[แก้]ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุโซนร้อน 25 ลูก ในจำนวนนี้พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 14 ลูก และในจำนวนนั้น 4 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]
พายุไต้ฝุ่นแคที
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 26 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ | ||
ความรุนแรง | 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันเขตร้อนอาเซียง
[แก้]พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 26 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
อาเซียง (Asiang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA
พายุดีเปรสชันเขตร้อนบีริง
[แก้]พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 8 – 11 กุมภาพันธ์ | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
บีริง (Biring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA
พายุโซนร้อนลอร์นา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 25 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นมารี (โกนซิง)
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 1 – 16 เมษายน | ||
ความรุนแรง | 215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนแนนซี
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 24 เมษายน – 3 พฤษภาคม | ||
ความรุนแรง | 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นออลกา
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 10 – 28 พฤษภาคม | ||
ความรุนแรง | 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นพาเมลา
[แก้]พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 14 – 29 พฤษภาคม | ||
ความรุนแรง | 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันเขตร้อนโกลริง
[แก้]พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 15 – 18 มิถุนายน | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
โกลริง (Gloring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA
พายุไต้ฝุ่นรูบี (ฮัวนิง)
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 20 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 935 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.61 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นแซลลี (อีซัง)
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 24 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท) |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเทอรีส
[แก้]พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 8 – 21 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.72 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นเทอรีสก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม มีกำลังสูงสุดในวันที่ 12 ถึง 13 กรกฎาคม ด้วยความเร็วลม 250 กม./ชม. ในฐานะพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น จากนั้นจึงอ่อนกำลังลง และส่งผลกระทบต่อทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก โดยขึ้นฝั่งที่ประเทศญี่ปุ่นในฐานะพายุโซนร้อนเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม จากนั้นพายุเคลื่อนเป็นวังวนไปทางตะวันตก และสลายตัวไปในวันที่ 21 กรกฎาคม ทำให้เกิดมหาอุทกภัยขึ้น มีผู้เสียชีวิต 3 ราย และสร้างความเสียหายนับล้าน
พายุโซนร้อนไวโอเลต (ลูซิง)
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 20 – 27 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนไวโอเลตส่งผลกระทบกับฮ่องกง และเกาะไหหน่าน มีผู้เสียชีวิต 2 ราย[2]
พายุโซนร้อนวิลดา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 17 – 24 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นแอนิตา (มาริง)
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 20 – 27 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นบิลลี (นีตัง)
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 31 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนแคลรา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 2 – 8 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนดอต (โอซัง)
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 17 – 24 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนเอลเลน (ปาริง)
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 20 – 25 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนเอลเลนส่งผลกระทบกับฮ่องกง ทำให้มีผู้เสียชีวิต 27 คน และสูญหายอีก 3 คน[2]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นแฟรน (เรมิง)
[แก้]พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 2 – 15 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนจอร์เจีย
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 8 – 16 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นโฮป
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 13 – 19 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันเขตร้อนเซเนียง
[แก้]พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 13 – 14 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
เซเนียง (Seniang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA
พายุไต้ฝุ่นไอริส (โตยัง)
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 14 – 29 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นโจน
[แก้]พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 18 – 25 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท) |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นลูอิส
[แก้]พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 27 ตุลาคม – 9 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 895 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.43 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนมาร์ช (โยนิง)
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 4 – 12 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนนอรา (อาริง)
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 1 – 8 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนโอปอล (บาเซียง)
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 8 – 10 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันเขตร้อนกายัง
[แก้]พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 29 – 30 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
กายัง (Kayang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA
รายชื่อพายุ
[แก้]รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ชื่อแรกที่ใช้ในปี 2519 คือ แคที และชื่อสุดท้ายคือ โอปอล
|
|
|
|
มีพายุก่อตัวขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกกลางหนึ่งลูก นั่นคือ พายุเฮอร์ริเคนเคต ซึ่งตามนโยบายการตั้งชื่อพายุในเวลานั้น ชุดรายชื่อของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกและแปซิฟิกกลางเป็นชุดเดียวกัน
ฟิลิปปินส์
[แก้]อาเซียง (Asiang) | บีริง (Biring) | โกนซิง (Konsing) | ดีตัง (Ditang) | เอเดง (Edeng) |
โกลริง (Gloring) | ฮัวนิง (Huaning) | อีซัง (Isang) | ลูซิง (Lusing) | มาริง (Maring) |
นีตัง (Nitang) | โอซัง (Osang) | ปาริง (Paring) | เรมิง (Reming) | เซเนียง (Seniang) |
โตยัง (Toyang) | ยูนซัง (Unsang) | เวลปริง (Welpring) | โยนิง (Yoning) | |
รายชื่อเพิ่มเติม | ||||
---|---|---|---|---|
อาริง (Aring) | ||||
บาเซียง (Basiang) | กายัง (Kayang) | โดรัง (Dorang) (ไม่ถูกใช้) | เอนัง (Enang) (ไม่ถูกใช้) | กราซิง (Grasing) (ไม่ถูกใช้) |
ดูเพิ่ม
[แก้]- พายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
- ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2519
- ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2519
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2519
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "1976 ATCR TABLE OF CONTENTS" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-19. สืบค้นเมื่อ 2019-01-15.
- ↑ 2.0 2.1 "Historical Information". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-16. สืบค้นเมื่อ 2019-01-15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Hong Kong Observator; Historical Information" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน