จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2510 แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล ระบบแรกก่อตัว 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ระบบสุดท้ายสลายตัว 20 ธันวาคม พ.ศ. 2510 พายุมีกำลังมากที่สุด ชื่อ คาร์ล่า • ลมแรงสูงสุด 295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) • ความกดอากาศต่ำที่สุด 900 hPa (มิลลิบาร์ )
สถิติฤดูกาล พายุดีเปรสชันทั้งหมด 40 พายุโซนร้อนทั้งหมด 35 พายุไต้ฝุ่น 20 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น 5 ผู้เสียชีวิตทั้งหมด 494 ความเสียหายทั้งหมด ไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2508 , 2509 , 2510 , 2511 , 2512
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967 ) เป็นฤดูของพายุหมุนเขตร้อน แต่ไม่มีการกำหนดช่วงของขอบเขตของพายุ แต่ส่วนใหญ่จะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนและธันวาคม วันเหล่านี้ในแต่ละปีเมื่อพายุไซโคลนเขตร้อนมักจะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก
ขอบเขตของบทความนี้จะจำกัดอยู่ทางบริเวณตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตร และทางตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล โดยพายุที่เกิดทางด้านตะวันออกของเส้นนี้และทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรจะถูกเรียกรวมๆว่า เฮอร์ริเคน ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2510
พายุหมุนเขตร้อนในแอ่งแปซิฟิกนี้ ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ของสหรัฐอเมริกาได้กำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ข้างหน้า
สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตนเองเมื่อมีพายุก่อตัวหรือทวีความรุนแรงในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ (Philippine area of responsibility)
มีดีเปรสชันเขตร้อนทั้งหมด 40 ลูกที่ก่อตัวในปีนี้ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก
พายุโซนร้อนรับบี้ (อูริง) [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
28 มกราคม – 6 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง
75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 1000 hPa (mbar 29.53 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นแซลลี่ (เบเบง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS )
ระยะเวลา
28 กุมภาพันธ์ – 7 มีนาคม
ความรุนแรง
155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 hPa (mbar 28.94 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนเทอร์เรส [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
15 – 24 มีนาคม
ความรุนแรง
110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 990 hPa (mbar 29.23 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นไวโอเลต (คาริง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS )
ระยะเวลา
31 มีนาคม – 12 เมษายน
ความรุนแรง
220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 930 hPa (mbar 27.46 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนวิลดา (ดีดิง) [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
8 – 13 พฤษภาคม
ความรุนแรง
75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 1004 hPa (mbar 29.65 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นแอนนิต้า (เกนิง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS )
ระยะเวลา
24 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม
ความรุนแรง
150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 975 hPa (mbar 28.79 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นบิลลีย์ (เออร์มิง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS )
ระยะเวลา
29 มิถุนายน – 8 กรกฎาคม
ความรุนแรง
140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 hPa (mbar 28.94 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นคาร์ล่า (อีซิง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS )
ระยะเวลา
2 – 12 กรกฎาคม
ความรุนแรง
185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 960 hPa (mbar 28.35 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนดอท [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
19 – 29 กรกฎาคม
ความรุนแรง
110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 975 hPa (mbar 28.79 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นเอลเลน [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS )
ระยะเวลา
25 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง
150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 970 hPa (mbar 28.64 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนฟราน (ลูดิง) [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
29 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม
ความรุนแรง
110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 hPa (mbar 28.94 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนจอร์เจีย (มาเมง) [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
29 กรกฎาคม – 8 สิงหาคม
ความรุนแรง
110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 975 hPa (mbar 28.79 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนโฮป (เนเนง) [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
4 – 9 สิงหาคม
ความรุนแรง
110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 hPa (mbar 29.09 นิ้วปรอท )
ดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่สิบหก [ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
10 – 11 สิงหาคม
ความรุนแรง
45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ
ดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่สิบเจ็ด [ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
11 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง
45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ
พายุโซนร้อนไอริส [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
15 – 16 สิงหาคม
ความรุนแรง
75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 995 hPa (mbar 29.38 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนโจอัน (เปเปง) [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
18 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง
100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 990 hPa (mbar 29.23 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นเคต [ แก้ ]
{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=19
|Dissipated=22 สิงหาคม
|1-min winds=70
|Pressure=980
}}
พายุโซนร้อนโลอูส [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
16 – 23 สิงหาคม
ความรุนแรง
100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 hPa (mbar 28.94 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นมาร์จ (โรซิง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS )
ระยะเวลา
24 – 29 สิงหาคม
ความรุนแรง
230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 940 hPa (mbar 27.76 นิ้วปรอท )
ดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ยี่สิบสาม [ แก้ ]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
25 – 26 สิงหาคม
ความรุนแรง
45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ
ไต้ฝุ่นโนร่า (ซีซัง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS )
ระยะเวลา
27 – 30 สิงหาคม
ความรุนแรง
130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 990 hPa (mbar 29.23 นิ้วปรอท )
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นโอปอล [ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS )
ระยะเวลา
30 สิงหาคม – 15 กันยายน
ความรุนแรง
285 กม./ชม. (180 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 920 hPa (mbar 27.17 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนพัทซี่ [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
4 – 5 กันยายน
ความรุนแรง
95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 995 hPa (mbar 29.38 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นรูธ [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS )
ระยะเวลา
6 – 14 กันยายน
ความรุนแรง
205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 940 hPa (mbar 27.76 นิ้วปรอท )
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นซาร่า [ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS )
ระยะเวลา
14 (เข้ามาในขอบเขต) – 22 กันยายน
ความรุนแรง
240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 932 hPa (mbar 27.52 นิ้วปรอท )
[1]
พายุโซนร้อนเทลม่า [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
10 – 12 กันยายน
ความรุนแรง
95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 990 hPa (mbar 29.23 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนเวร่า [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
13 – 15 กันยายน
ความรุนแรง
85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 995 hPa (mbar 29.38 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นวันด้า [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS )
ระยะเวลา
18 – 26 กันยายน
ความรุนแรง
175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 960 hPa (mbar 28.35 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นเอมี่ [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS )
ระยะเวลา
28 กันยายน – 7 ตุลาคม
ความรุนแรง
150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 960 hPa (mbar 28.35 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนบาเบ [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
8 – 10 ตุลาคม
ความรุนแรง
110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 hPa (mbar 28.94 นิ้วปรอท )
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นคาร์ล่า (ทรีนิง) [ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS )
ระยะเวลา
10 – 20 ตุลาคม
ความรุนแรง
295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 900 hPa (mbar 26.58 นิ้วปรอท )
[2]
ไต้ฝุ่นดีนาฮ์ (อูริง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS )
ระยะเวลา
17 – 30 ตุลาคม
ความรุนแรง
185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 950 hPa (mbar 28.05 นิ้วปรอท )
[3]
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นเอ็มม่า (เวลมิง) [ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS )
ระยะเวลา
31 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน
ความรุนแรง
260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 910 hPa (mbar 26.87 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นเฟรด้า (ยายัง) [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS )
ระยะเวลา
7 – 10 พฤศจิกายน
ความรุนแรง
155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 970 hPa (mbar 28.64 นิ้วปรอท )
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นกิลด้า (เอดิง) [ แก้ ]
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS )
ระยะเวลา
8 – 10 พฤศจิกายน
ความรุนแรง
240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 910 hPa (mbar 26.87 นิ้วปรอท )
ไต้ฝุ่นแฮร์เรียต [ แก้ ]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS )
ระยะเวลา
17 – 24 พฤศจิกายน
ความรุนแรง
205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 950 hPa (mbar 28.05 นิ้วปรอท )
พายุโซนร้อนไอวี่ (บารัง) [ แก้ ]
พายุโซนร้อน (SSHWS )
ระยะเวลา
17 – 20 ธันวาคม
ความรุนแรง
110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 hPa (mbar 28.94 นิ้วปรอท )
อ้างอิง [ แก้ ]
↑ "1967 Central Pacific Tropical Cyclone season" .
↑ J. L. H. Paulhaus (1973). World Meteorological Organization Operational Hydrology Report No. 1: Manual For Estimation of Probable Maximum Precipitation . World Meteorological Organization . p. 178.
↑ Digital Typhoon: Disaster Information