ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2516

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2516
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว30 มิถุนายน พ.ศ. 2516
(สถิติก่อตัวช้าที่สุด)
ระบบสุดท้ายสลายตัว27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อนอรา
 • ลมแรงสูงสุด295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด877 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด25 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด21 ลูก
พายุไต้ฝุ่น12 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น3 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดไม่ทราบ
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2514, 2515, 2516, 2517, 2518

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2516 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2516 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2516) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

พายุ[แก้]

ในปีนี้มีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวทั้งหมด 25 ลูก ในจำนวนนี้ 21 ลูกพัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน มี 12 ลูกที่พัฒนาขึ้นไปถึงระดับพายุไต้ฝุ่น และ 3 ลูกเป็นพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]

พายุโซนร้อนวิลดา (อาตริง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 มิถุนายน – 6 กรกฎาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแอนิตา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 10 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแคลรา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 15 กรกฎาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นบิลลี (บีนิง)[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 20 กรกฎาคม
ความรุนแรง 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นดอต[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเอลเลน[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 29 กรกฎาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแฟรน (กูริง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นจอร์เจีย[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 15 สิงหาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโฮป[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไอริส (ดาลิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 11W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 18 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1005 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.68 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโจน (เอลัง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนโกริง[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 20 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุโซนร้อนเคต[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 27 สิงหาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 14W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 31 สิงหาคม – 3 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุไต้ฝุ่นลูอิส (ฮูลิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 9 กันยายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นมาร์ช (อีเบียง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 16 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นนอรา (ลูมิง)[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 10 ตุลาคม
ความรุนแรง 295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
877 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 25.9 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโอปอล[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 9 ตุลาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นแพตซี (มีลิง)[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 15 ตุลาคม
ความรุนแรง 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
895 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.43 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นรูท (นาร์ซิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 21 ตุลาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนซาราห์[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 12 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

วันที่ 12 พฤศจิกายน พายุลูกนี้เคลื่อนตัวลงสู่อ่าวเบงกอล และกลายเป็นพายุไซโคลนรหัส 37-73[1]

พายุโซนร้อนเทลมา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 18 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเวรา (โอเปง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 27 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุหมุนเขตร้อนที่ทรงพลังที่สุดลูกหนึ่งที่พัดเข้าโจมตีวิซายัส เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พายุโซนร้อนโอเปงส่งผลกระทบประชาชนราว 3.4 ล้านคน[2]

รายชื่อพายุ[แก้]

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ชื่อแรกที่ใช้ในปี 2516 คือ วิลดา และชื่อสุดท้ายคือ เวรา

  • แอกเนส (Agnes)
  • เบสส์ (Bess)
  • คาร์เมน (Carmen)
  • เดลลา (Della)
  • เอเลน (Elaine)
  • เฟย์ (Faye)
  • กลอเรีย (Gloria)
  • เฮสเตอร์ (Hester)
  • เออร์มา (Irma)
  • จูดี (Judy)
  • คิต (Kit)
  • ลอลา (Lola)
  • แมมี (Mamie)
  • นีนา (Nina)
  • ออรา (Ora)
  • ฟิลลิส (Phyllis)
  • ริตา (Rita)
  • ซูซาน (Susan)
  • เทสส์ (Tess)
  • ไวโอลา (Viola)
  • วินนี (Winnie)
  • อลิซ (Alice)
  • เบตตี (Betty)
  • คอรา (Cora)
  • ดอริส (Doris)
  • เอลซี (Elsie)
  • ฟลอซซี (Flossie)
  • เกรซ (Grace)
  • เฮเลน (Helen)
  • ไอดา (Ida)
  • จูน (June)
  • แคที (Kathy)
  • ลอร์นา (Lorna)
  • มารี (Marie)
  • แนนซี (Nancy)
  • ออลกา (Olga)
  • พาเมลา (Pamela)
  • รูบี (Ruby)
  • แซลลี (Sally)
  • เทอรีส (Therese)
  • ไวโอเลต (Violet)
  • วิลดา (Wilda) 1W
  • แอนิตา (Anita) 2W
  • บิลลี (Billie) 4W
  • แคลรา (Clara) 3W
  • ดอต (Dot) 5W
  • เอลเลน (Ellen) 6W
  • แฟรน (Fran) 7W
  • จอร์เจีย (Georgia) 8W
  • โฮป (Hope) 9W
  • ไอริส (Iris) 10W
  • โจน (Joan) 12W
  • เคต (Kate) 13W
  • ลูอิส (Louise) 15W
  • มาร์ช (Marge) 16W
  • นอรา (Nora) 17W
  • โอปอล (Opal) 18W
  • แพตซี (Patsy) 19W
  • รูท (Ruth) 20W
  • ซาราห์ (Sarah) 21W
  • เทลมา (Thelma) 22W
  • เวรา (Vera) 23W
  • วานดา (Wanda)
  • เอมี (Amy)
  • เบบ (Babe)
  • คาร์ลา (Carla)
  • ไดนาห์ (Dinah)
  • เอ็มมา (Emma)
  • ฟรีดา (Freda)
  • กิลดา (Gilda)
  • แฮเรียต (Harriet)
  • ไอวี (Ivy)
  • จีน (Jean)
  • คิม (Kim)
  • ลูซี (Lucy)
  • แมรี (Mary)
  • เนดีน (Nadine)
  • โอลีฟ (Olive)
  • พอลลี (Polly)
  • โรส (Rose)
  • เชอร์ลีย์ (Shirley)
  • ทริกซ์ (Trix)
  • เวอร์จิเนีย (Virginia)
  • เวนดี Wendy

ฟิลิปปินส์[แก้]

อาตริง (Atring) บีนิง (Bining) กูริง (Kuring) ดาลิง (Daling) เอลัง (Elang)
โกริง (Goring) ฮูลิง (Huling) อีเบียง (Ibiang) ลูมิง (Luming) มีลิง (Miling)
นาร์ซิง (Narsing) โอเปง (Openg) ปีนิง (Pining) (ยังไม่ใช้) รูบิง (Rubing) (ยังไม่ใช้) ซาลิง (Saling) (ยังไม่ใช้)
ตาซิง (Tasing) (ยังไม่ใช้) อุนดิง (Unding) (ยังไม่ใช้) วาล์ดิง (Walding) (ยังไม่ใช้) เยเยง (Yeyeng) (ยังไม่ใช้)
รายชื่อเพิ่มเติม
อันดิง (Anding) (ยังไม่ใช้)
บีนัง (Binang) (ยังไม่ใช้) กาเดียง (Kadiang) (ยังไม่ใช้) ดีนัง (Dinang) (ยังไม่ใช้) เอปัง (Epang) (ยังไม่ใช้) กุนดัง (Gundang) (ยังไม่ใช้)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "1973 ATCR TABLE OF CONTENTS". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-06. สืบค้นเมื่อ 2009-12-25.
  2. de la Cruz, Gwen; Romulo, Mica (August 2, 2014). "Worst natural disasters in the Philippines". Rappler. Rappler. สืบค้นเมื่อ March 2, 2016.