ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2520

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2520
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว10 มกราคม พ.ศ. 2520
ระบบสุดท้ายสลายตัว3 มกราคม พ.ศ. 2521
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเบ็บ
 • ลมแรงสูงสุด205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด905 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด26 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด20 ลูก
พายุไต้ฝุ่น11 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น1 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทางตรง 143 คน, ทางอ้อม 47 คน
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2518, 2519, 2520, 2521, 2522

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2520 เป็นหนึ่งในฤดูกาลที่มีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนน้อย มีพายุโซนร้อนก่อตัวและได้รับชื่อเพียง 19 ลูก เป็นหนึ่งในสามฤดูกาลของพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกในยุคภาพถ่ายดาวเทียม (ตั้งแต่ พ.ศ. 2503) ที่ไม่ผลิตพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 เลย (ต่อจากฤดูพายุไต้ฝุ่น พ.ศ. 2517 และตามด้วยฤดูพายุไต้ฝุ่น พ.ศ. 2560) โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2520 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2520) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

พายุ[แก้]

ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุดีเปรสชันเขตร้อน 26 ลูก ในจำนวนนี้ 20 ลูก พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 11 ลูก และในจำนวนนั้น 1 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอาตริง[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 10 – 13 มกราคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

อาตริง (Atring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุโซนร้อนกำลังแรงแพตซี[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 31 มีนาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุแพตซีเป็นพายุที่อยู่ห่างจากแผ่นดิน

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 02W (บีนิง)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 26 – 27 พฤษภาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน 02W เป็นพายุที่มีช่วงอายุสั้น

พายุโซนร้อนกำลังแรงรูท (กูริง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 17 มิถุนายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุรูทส่งผลกระทบต่อประเทศจีน

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 04W (ดาลิง)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 6 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน 04W ส่งผลกระทบกับภาคใต้ของประเทศจีน

พายุไต้ฝุ่นซาราห์ (เอลัง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุซาราห์ส่งผลกระทบกับประเทศจีน

พายุไต้ฝุ่นเทลมา (โกริง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 26 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุเทลมาส่งผลกระทบกับตอนบนของประเทศฟิลิปปินส์ เกาะไต้หวัน และภาคตะวันออกของประเทศจีน

พายุไต้ฝุ่นเวรา (ฮูลิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุเวราส่งผลกระทบเกาะไต้หวัน ก่อตัวเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พัดเข้าเกาะไต้หวันทางตะวันออกในวันที่ 31 กรกฎาคม และไปสลายตัวในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน

พายุโซนร้อนวานดา[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 31 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุวานดาไม่ส้งผลกระทบต่อแผ่นดินใหญ่

พายุโซนร้อนกำลังแรงเอมี (อีเบียง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 23 สิงหาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเดือนสิงหาคม[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 21 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
988 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.18 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนไม่มีชื่อลูกนี้เป็นพายุโซนร้อนอายุสั้นลูกหนึ่ง

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเบ็บ (มีลิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 12 กันยายน
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.72 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นในวันที่ 2 กันยายน มันเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือเฉไปทางตะวันตกพร้อมทั้งทวีกำลังแรงขึ้น ในวันที่ 5 กันยายน พายุโซนร้อนเปลี่ยนทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือแต่เฉไปทางทิศเหนือมากขึ้น จากนั้นไม่นาน เบ็บทวีกำลังแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนบรรลุความรุนแรงสูงสุดในวันที่ 8 กันยายน ด้วยความเร็วลม 240 กม./ชม. และมีความกดอากาศ 905 มิลลิบาร์ จากนั้นมันเคลื่อนตัวโค้งไปทางตะวันออกก่อนในครั้งแรก แล้วจึงเบนทวนเข็มนาฬิกาไปทางตะวันตก ในลักษณะเคลื่อนตัวอ้อมหมู่เกาะรีวกีว เนื่องจากมีปฏิสัมพันธ์กับหย่อมความกดอากาศต่ำที่ก่อตัวขึ้นในคาบสมุทรเกาหลี พร้อมทั้งอ่อนกำลังลง จากนั้นจึงพัดขึ้นฝั่งใกล้กับนครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ในวันที่ 11 กันยายน ในฐานะพายุไต้ฝุ่นกำลังอ่อน ก่อนจะสลายตัวบนแผ่นดินในวันต่อมา[2][3]

ในตอนที่เคลื่อนตัวผ่านหมู่เกาะรีวกีวนั้น เบ็บเป็นพายุไต้ฝุ่นที่ทรงพลัง ทำให้เกิดความเสียหายขึ้นอย่างมาก บ้านเรือนมากกว่า 1,000 หลังถูกทำลาย และอีกเกือบ 7,000 หลังได้รับความเสียหายหรือประสบอุทกภัย มีผู้เสียชีวิตจำนวน 1 คนในเกาะอามามิ โอชิมะ และอีก 77 คนได้รับบาดเจ็บ[4] สร้างความเสียหายถึง 6.1 พันล้านเยน (23 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)[5] ส่วนพื้นที่ในทะเล เรือมากกว่า 100 ลำได้รับผลกระทบจากพายุ รวมถึงเรือบรรทุกสินค้าสัญชาติปานามา ที่มีผู้เสียชีวิตจำนวน 13 คนด้วย[2] ส่วนที่ประเทศจีน บ้านเรือนมากกว่า 24,000 หลังถูกทำลาย และมีผู้เสียชีวิต 9 คน[6]

พายุโซนร้อนคาร์ลา (ลูมิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 5 กันยายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุคาร์ลาส่งผลกระทบกับประเทศเวียดนาม

พายุไต้ฝุ่นไดนาห์ (โอเปง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 23 กันยายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไดนาห์ทำให้เกิดฝนตกหนักและอุทกภัยบนเกาะลูซอนของฟิลิปปินส์ ทำให้มีผู้เสียชีวิต 54 คน และสูญหายอีก 11 คน[7]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนนาร์ซิง[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 11 – 13 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุโซนร้อนกำลังแรงเอ็มมา[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 20 กันยายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุเอ็มมาส่งผลกระทบต่อประเทศญี่ปุ่น

พายุโซนร้อนกำลังแรงฟรีดา (ปีนิง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุฟรีดาส่งผลกระทบกับฮ่องกง มีผู้เสียชีวิต 1 คน[8]

พายุไต้ฝุ่นกิลดา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 10 ตุลาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนรูบิง[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 14 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุโซนร้อนกำลังแรงแฮเรียต (ซาลิง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 20 ตุลาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไอวี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นจีน[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนตาซิง[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 3 – 5 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

ตาซิง (Tasing) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุไต้ฝุ่นคิม (อุนซิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 17 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุคิมส่งผลกระทบกับประเทศฟิลิปปินส์

พายุไต้ฝุ่นลูซี (วาล์ดิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 พฤศจิกายน – 7 ธันวาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแมรี (เยเยง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 ธันวาคม 2520 – 3 มกราคม 2521
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ[แก้]

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ชื่อแรกที่ใช้ในปี 2520 คือ แพตซี และชื่อสุดท้ายคือ แมรี

  • แอกเนส (Agnes)
  • บอนนี (Bonnie)
  • คาร์เมน (Carmen)
  • เดลลา (Della)
  • เอเลน (Elaine)
  • เฟย์ (Faye)
  • กลอเรีย (Gloria)
  • เฮสเตอร์ (Hester)
  • เออร์มา (Irma)
  • จูดี (Judy)
  • คิต (Kit)
  • ลอลา (Lola)
  • แมมี (Mamie)
  • นีนา (Nina)
  • โอเวน (Owen)
  • ฟิลลิส (Phyllis)
  • ริตา (Rita)
  • ซูซาน (Susan)
  • เทสส์ (Tess)
  • ไวโอลา (Viola)
  • วินนี (Winnie)
  • อลิซ (Alice)
  • เบตตี (Betty)
  • คอรา (Cora)
  • ดอริส (Doris)
  • เอลซี (Elsie)
  • ฟลอสซี (Flossie)
  • เกรซ (Grace)
  • เฮเลน (Helen)
  • ไอดา (Ida)
  • จูน (June)
  • แคที (Kathy)
  • ลอร์นา (Lorna)
  • มารี (Marie)
  • แนนซี (Nancy)
  • ออลกา (Olga)
  • พาเมลา (Pamela)
  • รูบี (Ruby)
  • แซลลี (Sally)
  • เทอรีส (Therese)
  • ไวโอเลต (Violet)
  • วิลดา (Wilda)
  • แอนิตา (Anita)
  • บิลลี (Billie)
  • แคลรา (Clara)
  • ดอต (Dot)
  • เอลเลน (Ellen)
  • แฟรน (Fran)
  • จอร์เจีย (Georgia)
  • โฮป (Hope)
  • ไอริส (Iris)
  • โจน (Joan)
  • เคต (Kate)
  • ลูอิส (Louise)
  • มาร์ช (Marge)
  • นอรา (Nora)
  • โอปอล (Oral)
  • แพตซี (Patsy) 1W
  • รูท (Ruth) 3W
  • ซาราห์ (Sarah) 5W
  • เทลมา (Thelma) 6W
  • เวรา (Vera) 7W
  • วานดา (Wanda) 8W
  • เอมี (Amy) 9W
  • เบ็บ (Babe) 10W
  • คาร์ลา (Carla) 11W
  • ไดนาห์ (Dinah) 12W
  • เอ็มมา (Emma) 13W
  • ฟรีดา (Freda) 14W
  • กิลดา (Gilda) 15W
  • แฮเรียต (Harriet) 16W
  • ไอวี (Ivy) 17W
  • จีน (Jean) 18W
  • คิม (Kim) 19W
  • ลูซี (Lucy) 20W
  • แมรี (Mary) 21W
  • เนดีน (Nadine)
  • โอลีฟ (Olive)
  • พอลลี (Polly)
  • โรส (Rose)
  • เชอร์ลีย์ (Shirley)
  • ทริกซ์ (Trix)
  • เวอร์จิเนีย (Virginia)
  • เวนดี (Wendy)

ฟิลิปปินส์[แก้]

อาตริง (Atring) บีนิง (Bining) กูริง (Kuring) ดาลิง (Daling) เอลัง (Elang)
โกริง (Goring) ฮูลิง (Huling) อีเบียง (Ibiang) ลูมิง (Luming) มีลิง (Miling)
นาร์ซิง (Narsing) โอเปง (Openg) ปีนิง (Pining) รูบิง (Rubing) ซาลิง (Saling)
ตาซิง (Tasing) อุนซิง (Unsing) วาล์ดิง (Walding) เยเยง (Yeyeng)
รายชื่อเพิ่มเติม
อันดิง (Anding) (ไม่ถูกใช้)
บีนัง (Binang) (ไม่ถูกใช้) กาเดียง (Kadiang) (ไม่ถูกใช้) ดีนัง (Dinang) (ไม่ถูกใช้) เอปัง (Epang) (ไม่ถูกใช้) กุนดัง (Gundang) (ไม่ถูกใช้)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1977 ATCR TABLE OF CONTENTS เก็บถาวร 2011-06-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. 2.0 2.1 "Annual Tropical Cyclone Report: Typhoon Babe" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. United States Navy. 1978. pp. 27–29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-25. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013.
  3. "1977 Babe (1977243N05156)". International Best Track Archive. 2013. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013.[ลิงก์เสีย]
  4. Associated Press (September 11, 1977). "Typhoon Rakes Japan". The Spokesman-Review. Tokyo, Japan. p. A5. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013.
  5. "台風197709号 (Babe) [沖永良部台風] - 災害情報". Digital Typhoon (ภาษาญี่ปุ่น). National Institute of Informatics. 2013. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013.
  6. Yongqiang Zong and Xiqing Chen (March 1999). "Typhoon Hazards in the Shanghai Area". Disasters. 23 (1): 66–80. doi:10.1111/1467-7717.00105. PMID 10204288. (ต้องรับบริการ)
  7. "Destructive Typhoons 1970-2003". National Disaster Coordinating Council. November 9, 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 9, 2004. สืบค้นเมื่อ April 22, 2013.
  8. "Historical Information". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-16. สืบค้นเมื่อ 2019-01-15.