ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2560

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2560
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว15 เมษายน พ.ศ. 2560
ระบบสุดท้ายสลายตัว9 ธันวาคม พ.ศ. 2560
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อออกคี
 • ลมแรงสูงสุด155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 3 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด976 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชัน10 ลูก
พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว6 ลูก
พายุไซโคลน2 ลูก
พายุไซโคลนกำลังแรง1 ลูก
พายุไซโคลนกำลังแรงมาก1 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด761 คน
ความเสียหายทั้งหมด8.88 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2017)
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ
2558, 2559, 2560, 2561, 2562

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2560 คือรอบของพายุหมุนเขตร้อน ที่มีการก่อตัวในมหาสมุทรอินเดียเหนือ ซึ่งไม่มีการกำหนดฤดูอย่างเป็นทางการ แต่พายุไซโคลนมีแนวโน้มก่อตัวระหว่างเดือนเมษายนถึงธันวาคม โดยมีอัตราสูงที่สุดตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน

ขอบเขตของบทความนี้จะถูกจำกัดอยู่ในมหาสมุทรอินเดียที่อยู่ในซีกโลกเหนือ ทางทิศตะวันออกของจะงอยแอฟริกาและทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรมลายู โดยมีสองทะเลหลักอยู่ในมหาสมุทรอินเดียเหนือ คือ ทะเลอาหรับ ไปทางตะวันตกของอนุทวีปอินเดีย ถูกเรียกอย่างย่อว่า ARB โดยกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD); และอ่าวเบงกอล ไปทางตะวันออก เรียกอย่างย่อว่า BOB โดย IMD

ผู้ที่รับผิดชอบอย่างเป็นทางการในแอ่งนี้ตามศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค คือ กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD) ขณะที่ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นจะออกคำเตือนอย่างไม่เป็นทางการในภูมิภาคนี้ โดยเฉลี่ยแล้วแอ่งนี้จะมีพายุก่อตัว 4-6 ลูกในทุกฤดูกาล[1]

ภาพรวมฤดูกาล[แก้]

ความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนภายในแอ่งนี้
  • ██ พายุดีเปรสชัน
  • ██ พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว
  • ██ พายุไซโคลน
  • ██ พายุไซโคลนกำลังแรง
  • ██ พายุไซโคลนกำลังแรงมาก
  • ██ พายุไซโคลนกำลังแรงอย่างมาก
  • ██ พายุซูเปอร์ไซโคลน

ฤดูกาลเริ่มต้นอย่างเป็นทางการด้วยการก่อตัวของพายุไซโคลนมารุทาเหนืออ่าวเบงกอล ในช่วงกลางเดินเมษายน

พายุ[แก้]

พายุไซโคลนมารุทา[แก้]

พายุไซโคลน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 17 เมษายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

เมื่อวันที่ 13 เมษายน หย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้นบริเวณตอนใต้ของอ่าวเบงกอล ภายใต้อิทธิพลของพื้นที่การหมุนเวียนที่ยังคงอยู่ ในระยะเวลา 6 ชั่วโมง[2] ภายใต้เงื่อนไขที่เหมาะสม การแรงขึ้นอย่างฉับพลันจึงเกิดขึ้น และระบบถูกจัดเป็นพายุดีเปรสชันเมื่อวันที่ 15 เมษายน[3] ต่อมาในวันเดียวกันนั้น พายุหมุนยังทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็ว จากนั้นกลายเป็นพายุไซโคลน ได้รัยชื่อว่า มารุทา (Maarutha) มารุทาได้ชักนำให้เกิดฝนตกหนักตั้งแต่ยังเป็นพายุดีเปรสชันในประเทศศรีลังกา และในหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ของอินเดีย[4] วันที่ 16 เมษายน มารุทาได้พัดขึ้นฝั่งที่ประเทศพม่า ก่อนที่จะสลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในวันรุ่งขึ้น

ในเมืองจ้าวผิ่ว มารุทาได้ทำลายบ้านเรือนกว่า 70 หลังคาเรือนและสร้างความเสียหายรวมมากสุดถึง 31.8 ล้านจัต (23,400 ดอลลาร์สหรัฐ) เมื่อวันที่ 18 เมษายน[5] มีรายงานว่ามีประชาชนสามคนเสียชีวิตในพม่า[6]

พายุไซโคลนกำลังแรงโมรา[แก้]

พายุไซโคลนกำลังแรง (IMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 – 31 พฤษภาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
978 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.88 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว บีโอบี 03[แก้]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
ระยะเวลา 11 – 13 มิถุนายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
988 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.18 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน บีโอบี 04[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 18 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันบนแผ่นดิน 01[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 26 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง 50 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันบนแผ่นดิน 02[แก้]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
ระยะเวลา 8 – 10 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน บีโอบี 05[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 18 – 22 ตุลาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน บีโอบี 06[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 15 – 17 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนกำลังแรงมากออกคี[แก้]

พายุไซโคลนกำลังแรงมาก (IMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
976 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.82 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว บีโอบี 08[แก้]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 9 ธันวาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

ชื่อพายุ[แก้]

ภายในแอ่งนี้ พายุหมุนเขตร้อนจะมีชื่อเมื่อมีความรุนแรงในระดับพายุไซโคลน มีความเร็วลม 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) เป็นชื่อที่คัดเลือกโดยสมาชิกของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) โดยศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาคในนิวเดลีได้มีการเริ่มต้นกำหนดชื่อในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2547 หากมีพายุจากแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเคลื่อนเข้ามา ก็จะใช้ชื่อเดิมที่มากับตัวพายุ ท่านสามารถดูชื่อพายุที่เหลือทั้งหมดได้ที่รายชื่อพายุในมหาสมุทรอินเดียเหนือ

  • มารุทา
  • โมรา
  • ออกคี

ผลกระทบ[แก้]

ตารางนี้แสดงรายการพายุทั้งหมดที่เกิดขึ้นทางตอนเหนือของมหาสมุทรอินเดีย ในช่วงปี พ.ศ. 2560 ซึ่งจะระบุชื่อของพายุ, วันที่พายุเริ่มก่อตัว, ความรุนแรง (ตามสเกลของ IMD), ข้อมูลพื้นฐานของพายุ, พื้นที่ได้รับผลกระทบ และความเสียหายที่เกิดจากพายุ โดยตัวเลขที่แสดงความเสียหายจะถูกระบุเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ปี ค.ศ. 2017 และความเสียหาย การสูญเสียจากพายุ จะนับตั้งแต่พายุเริ่มรวมตัวจนถึงพายุถึงความรุนแรงสูงสุด

ชื่อ วันที่ ระดับความรุนแรง ความเร็วลม ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
เสียชีวิต อ้างอิง
มารุทา 15 – 17 เมษายน พายุไซโคลน 75 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ประเทศพม่า พม่า
อินเดีย หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์
&000000000002340000000023.4 พันดอลลาร์สหรัฐ 5 [5][6]
โมรา 28 – 31 พฤษภาคม พายุไซโคลนกำลังแรง 110 กม./ชม. 978 hPa (28.88 นิ้วปรอท) ศรีลังกา ศรีลังกา
อินเดีย อินเดีย
หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์
อินเดียตะวันออก
อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ
บังกลาเทศ บังกลาเทศ
ประเทศพม่า พม่า
ภูฏาน ภูฏาน
ทิเบต
&00000013571487700000001.36 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 135 [7][8][9]
บีโอบี 03 11 – 13 มิถุนายน พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว 55 กม./ชม. 988 hPa (29.18 นิ้วปรอท) อินเดีย อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ
บังกลาเทศ บังกลาเทศ
&0000000223136658629999223 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 170 [10][11]
บีโอบี 04 18 – 19 กรกฎาคม พายุดีเปรสชัน 45 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) อินเดีย อินเดีย
รัฐโอฑิศา
รัฐมัธยประเทศ
รัฐฉัตตีสครห์
&000000003434216700000034.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 7
แผ่นดิน 01 26 – 27 กรกฎาคม พายุดีเปรสชัน 45 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) อินเดีย อินเดีย
รัฐเบงกอลตะวันตก
รัฐฌารขัณฑ์
รัฐมัธยประเทศ
&00000021878418500000002.19 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 152 [12][13]
แผ่นดิน 02 8 – 10 ตุลาคม พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว 55 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) บังกลาเทศ บังกลาเทศ
อินเดีย อินเดีย
รัฐเบงกอลตะวันตก
รัฐฌารขัณฑ์
รัฐโอฑิศา
รัฐอานธรประเทศ
ไม่ทราบ 7
บีโอบี 05 18 – 22 ตุลาคม พายุดีเปรสชัน 45 กม./ชม. 999 hPa (29.50 นิ้วปรอท) อินเดีย อินเดีย
รัฐโอฑิศา
รัฐเบงกอลตะวันตก
อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ
บังกลาเทศ บังกลาเทศ
ไม่ทราบ 1
บีโอบี 06 15 – 17 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชัน 45 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) อินเดีย อินเดีย
รัฐโอฑิศา
รัฐเบงกอลตะวันตก
รัฐอานธรประเทศ
ไม่ทราบ 20
ออกคี 29  พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม พายุไซโคลนกำลังแรงมาก 155 กม./ชม. 976 hPa (28.82 นิ้วปรอท) ศรีลังกา ศรีลังกา
อินเดีย อินเดีย
มัลดีฟส์ มัลดีฟส์
> &00000050700000000000005.07 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 245 [14][15][16]
บีโอบี 08 5 – 9 ธันวาคม พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ไทย ภาคใต้ของประเทศไทย
มาเลเซีย ภาคเหนือของมาเลเซีย
อินโดนีเซีย จังหวัดอาเจะฮ์
อินเดีย อินเดีย
หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์
รัฐโอฑิศา
ไม่ทราบ 20 [17][18][19]
สรุปฤดูกาล
10 ลูก 15 เมษายน –
9 ธันวาคม
  155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) 976 hPa (28.82 นิ้วปรอท)   &00000088773234000000008.88 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 761


ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "การเตือนภัยพายุไซโคลนของกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (อังกฤษ)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-29. สืบค้นเมื่อ 2017-05-29.
  2. "Tropical Weather Outlook for North Indian Ocean Issued at 0600 UTC of 13 April 2017". India Meteorological Department. สืบค้นเมื่อ 15 April 2017.[ลิงก์เสีย]
  3. "Tropical Weather Outlook for North Indian Ocean issued at 0300 UTC of 15 April 2017". India Meteorological Department. สืบค้นเมื่อ 15 April 2017.[ลิงก์เสีย]
  4. "Tropical Weather Outlook for North Indian Ocean issued at 1400 UTC of 15 April 2017". India Meteorological Department. สืบค้นเมื่อ 15 April 2017.[ลิงก์เสีย]
  5. 5.0 5.1 "Maarutha makes landfall, weakens". The Global New Light of Myanmar. April 18, 2017.
  6. 6.0 6.1 "Three Die in Cyclone Maarutha". Reliefweb. April 18, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-20. สืบค้นเมื่อ 2017-05-29.
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Mora1
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Mora2
  9. "Sri Lanka: UN agency deploys rapid assessment teams to assist in wake of monsoon floods, landslides". May 30, 2017.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WB DD
  11. "Death toll up to 146 in Bangladesh landslides". Business Day. Agence France-Presse. June 14, 2017. สืบค้นเมื่อ June 14, 2017.
  12. "16 dead, 20 lakh affected in West Bengal floods". July 28, 2017. สืบค้นเมื่อ July 28, 2017.
  13. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Land 01_2
  14. "Church to take legal action over Indian cyclone tragedy". UCAN India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-22. สืบค้นเมื่อ 18 December 2017.
  15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ reuters.com
  16. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ The Indian Express
  17. "Two children die as floods strike Medan". December 5, 2017.
  18. "Second person dies in Malaysian floods". November 30, 2017.
  19. "Thailand flood death toll hits 15". December 6, 2017.