ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2565

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2565
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว3 มีนาคม พ.ศ. 2565
ระบบสุดท้ายสลายตัว27 ธันวาคม พ.ศ. 2565
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่ออัสนี
 • ลมแรงสูงสุด110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 3 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด988 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชัน15 ลูก
พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว7 ลูก
พายุไซโคลน3 ลูก
พายุไซโคลนกำลังแรง2 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด79 คน
ความเสียหายทั้งหมด52.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2022)
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ
2563, 2564, 2565, 2566, 2567

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2565 คือรอบของพายุหมุนเขตร้อนที่เคยมีการก่อตัวในมหาสมุทรอินเดียเหนือในอดีต ซึ่งไม่มีการกำหนดฤดูอย่างเป็นทางการ แต่พายุไซโคลนมีแนวโน้มก่อตัวระหว่างเดือนเมษายนถึงธันวาคม โดยมีอัตราสูงที่สุดตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน

ขอบเขตของบทความนี้จะถูกจำกัดอยู่ในมหาสมุทรอินเดียที่อยู่ในซีกโลกเหนือ ทางทิศตะวันออกของจะงอยแอฟริกาและทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรมลายู โดยมีสองทะเลหลักอยู่ในมหาสมุทรอินเดียเหนือ คือ ทะเลอาหรับ ไปทางตะวันตกของอนุทวีปอินเดีย ถูกเรียกอย่างย่อว่า ARB โดยกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD); และอ่าวเบงกอล ไปทางตะวันออก เรียกอย่างย่อว่า BOB โดย IMD

ผู้ที่รับผิดชอบอย่างเป็นทางการในแอ่งนี้ตามศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค คือ กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD) ขณะที่ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นจะออกคำเตือนอย่างไม่เป็นทางการในภูมิภาคนี้ โดยเฉลี่ยแล้วแอ่งนี้จะมีพายุก่อตัว 4-6 ลูกในทุกฤดูกาล[1][2]

ภาพรวมฤดูกาล[แก้]

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดียเหนือ (IMD)
  พายุดีเปรสชัน (≤51 กม./ชม.)   พายุไซโคลนกำลังแรงมาก (118–165 กม./ชม.)
  พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว (52–61 กม./ชม.)   พายุไซโคลนกำลังแรงอย่างมาก (166–221 กม./ชม.)
  พายุไซโคลน (62–87 กม./ชม.)   พายุซูเปอร์ไซโคลน (>222 กม./ชม.)
  พายุไซโคลนกำลังแรง (88–117 กม./ชม.)

ฤดูกาลเริ่มต้นด้วย พายุดีเปรสชัน BOB 01 ซึ่งก่อตัววันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 [3] ซึ่งมีความรุนแรงเป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็ว [4] ก่อนที่จะอ่อนกำลังลงเป็น หย่อมความกดอากาศต่ำ ในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2565 [5] และกลายเป็นพายุลูกที่ 9 ที่ก่อตัวในเดือนมีนาคม นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2434 ที่บันทึกโดยกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย [6] ในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2565 พายุดีเปรสชัน BOB 02 ซึ่งมีความรุนแรงเป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็ว ก่อตัวในทะเลอันดามันและได้ขึ้นฝั่งที่ประเทศเมียร์มาก่อนที่จะสลายไป


พายุ[แก้]

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว BOB 01[แก้]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 – 6 มีนาคม พ.ศ. 2565
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

หย่อมความกดอากาศต่ำได้ก่อตัวขึ้นทางตอนใต้ของ อ่าวเบงกอล เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เป็นเวลา 3วัน [7] แล้วเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือค่อนตะวันตกและJTWC ได้ติดตามหย่อมความกดอากาศต่ำโดยกำหนดเป็น 90B,และพัฒนาขึ้นเป็นพายุดีเปรสชั่น BOB 01 โดย กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย(IMD)ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 เวลา 00:00 UTC[8]สิ่งรบกวนอยู่ในพื้นที่ที่เอื้อต่อการ เกิดไซโคลเจเนซิสใน เขตพายุหมุนเขตร้อนเล็กน้อย และโดยมีอุณหภูมิผิวน้ำทะเลที่อบอุ่น(SST) ใกล้ 29 °C (84 °F) และแรงลมเฉือนแนวตั้งต่ำ [8] [9] ในวันถัดไป JTWCได้แจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน Tropical Cyclone Formation Alert (TCFA) สำหรับพายุลูกนี้ ในเวลาต่อมาพายุดีเปรสชัน BOB 01 ได้ทวีความรุนแรงเป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็วเนื่องจากมีการพาความร้อนได้ดี, ต่อมา JTWC, ได้จัดให้ดีเปรสชันทวีความรุนแรงเป็น พายุไซโคลน 01B.[10][11]และได้ออกการแจ้งเตือนพายุหมุนเขตร้อนฉบับสุดท้ายเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2565 เวลา 1500 UTC[12] ดีเปรสชัน BOB 01 ได้อ่อนกำลังลงทางตะวันตกเฉียงใต้ของอ่าวเบงกอง โดยภาพถ่ายดาวเทียมแสดงเห็นว่าพายุดีเปรสชันลูกนี้มีการรวมตัวของเมฆไม่ดีมากนัก [13] และในเวลาต่อมาได้อ่อนกำลังจงเป็นพื้นที่หย่อมความกดอากาศต่ำ (low pressure area(LPA))ทางตะวันออกของ Tamil Nadu และ กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย(IMD)ได้ออกการแจ้งเตือนของพายุหมุนเขตร้อนฉบับสุดท้าย[14]

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว BOB 02[แก้]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา 20 มีนาคม พ.ศ. 2565 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2565
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

ในช่วงกลางเดือนมีนาคม บริเวณหย่อมความกดอากาศต่ำได้ก่อตัวขึ้นในอ่าวเบงกอล นอกชายฝั่ง ศรีลังกา, ซึ่งเวลาต่อมากรมอุตุนิยมวิทยาอินเดียได้กำหนดเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีเครื่องหมายอย่างชัดเจน [15][16] และเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือค่อนทางเหนือเป็นเวลา 3 วัน, และเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2565 กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย(IMD)ได้ยกระดับจากหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีเครื่องหมายอย่างชัดเจนเป็นพายุดีเปรสชัน และกำหนดเป็น ดีเปรสชัน BOB02, [17] ในวันนั้น JTWC ได้ทำการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน(Tropical Cyclone Formation Alert (TCFA)) ของพายุลูกนี้[18] พายุดีเปรสชันได้ทวีความรุนแรงเป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็วโดยกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดียเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2565 เวลา 00:00 UTC (05:30 IST) [19] ในขณะที่มีการพาความร้อนที่ดีขึ้น  สภาพที่เอื้ออำนวยมากขึ้น เช่น มีอุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลปานกลางถึงสูง[19]วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2565 JTWC ได้ยกเลิกการแจ้งเตือนการต่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน(TCFA) เนื่องจากพายุได้ขึ้นฝั่ง ประเทศพม่า [20][21] พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว BOB 02 อ่อนกำลังอย่างรวดเร็ว อ่อนกำลังเป็นพายุดีเปรสชัน [22] และเมื่อ 03:00 UTC (08:30 IST) ของวันถัดไป พายุดีเปรสชันอ่อนกำลังเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำและกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย( IMD) ได้ออกคำเตือนฉบับสุดท้าย[23]

พายุไซโคลนกำลังแรงอัสนี[แก้]

พายุไซโคลนกำลังแรง (IMD)
พายุไซโคลน (TMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 7 พฤษภาคม – 12 พฤษภาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
982 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน BOB 04[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 20 – 21 พฤษภาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน ARB 01[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 16 – 18 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันบนแผ่นดิน 01[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 9 – 10 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน ARB 02[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน BOB 05[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 14 – 17 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว BOB 06[แก้]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 23 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันบนแผ่นดิน 02[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 11 – 12 กันยายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนศรีตรัง[แก้]

พายุไซโคลน (IMD)
พายุไซโคลน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 22 – 25 ตุลาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน BOB 08[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 20 – 24 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1003 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.62 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนกำลังแรงมันดุซ[แก้]

พายุไซโคลนกำลังแรง (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 10 ธันวาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว ARB 03[แก้]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 17 ธันวาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชัน BOB 10[แก้]

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา 22 – 27 ธันวาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (3 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ[แก้]

ภายในแอ่งนี้ พายุหมุนเขตร้อนจะมีชื่อเมื่อมีความรุนแรงในระดับพายุไซโคลน มีความเร็วลม 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) เป็นชื่อที่คัดเลือกโดยสมาชิกขององค์คณะพายุหมุนเขตร้อนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) โดยศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในนิวเดลี ได้มีการเริ่มต้นกำหนดชื่อในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2547 ชื่อในแอ่งนี้ไม่มีการถอดถอนชื่อพายุหมุนเขตร้อน เนื่องจากรายการชื่อเป็นเพียงการกำหนดไว้ใช้เพียงครั้งเดียว ก่อนที่จะร่างรายชื่อใหม่ขึ้นมาทดแทน ถ้าหากมีพายุจากแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเคลื่อนเข้ามา ก็จะใช้ชื่อเดิมที่มากับตัวพายุ อย่างไรก็ตาม ถ้าหากพายุอ่อนกำลังเป็นพายุดีเปรสชันก่อนเข้ามาแอ่ง แล้วทวีความรุนแรงภายหลังจากเข้ามาแอ่งแล้ว จะได้รับการตั้งชื่อใหม่[24]

  • อัสนี
  • ศรีตรัง
  • มันดุซ
  • โมคา (ยังไม่ใช้)
  • บีปอร์จอย (ยังไม่ใช้)
  • เตช (ยังไม่ใช้)
  • ฮอมูน (ยังไม่ใช้)
  • มิดิลี (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ[แก้]

ตารางนี้แสดงรายการพายุทั้งหมดที่เกิดขึ้นทางตอนเหนือของมหาสมุทรอินเดีย ในช่วงปี พ.ศ. 2565 ซึ่งจะระบุชื่อของพายุ, วันที่พายุเริ่มก่อตัว, ความรุนแรง (ตามสเกลของ IMD), ข้อมูลพื้นฐานของพายุ, พื้นที่ได้รับผลกระทบ และความเสียหายที่เกิดจากพายุ โดยตัวเลขที่แสดงความเสียหายจะถูกระบุเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ปี ค.ศ. 2022 และความเสียหาย การสูญเสียจากพายุ จะนับตั้งแต่พายุเริ่มรวมตัวจนถึงพายุถึงความรุนแรงสูงสุด

ชื่อ วันที่ ระดับความรุนแรง ความเร็วลม ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
เสียชีวิต อ้างอิง
BOB 01 3 มีนาคม - 6 มีนาคม พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว 55 กม./ชม. (33 ไมล์/ชม.) 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ศรีลังกา ศรีลังกา
ไม่มี ไม่มี
BOB 02 20 มีนาคม - 23 มีนาคม พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว 55 กม./ชม. (33 ไมล์/ชม.) 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไทย ไทย
ประเทศพม่า พม่า
หมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะอันดามัน
ไม่มี ไม่มี
อัสนี 7 พฤษภาคม - 12 พฤษภาคม พายุไซโคลนกำลังแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) 988 hPa (29.18 นิ้วปรอท) อินเดีย อินเดีย
หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกาะนิโคบาร์
ไม่ทราบ 3 [25]
BOB 04 20 - 21 พฤษภาคม พายุดีเปรสชัน 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ไทย ไทย
ประเทศพม่า พม่า
ไม่มี ไม่มี


สรุปฤดูกาล
4 ระบบ  ฤดูกาลดำเนินในปัจจุบัน   110 กม./ชม. (70 mph) 988 hPa (29.18 นิ้วปรอท)   0 ดอลลาร์สหรัฐ 3


ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Annual Frequency of Cyclonic Disturbances (Maximum Wind Speed of 17 Knots or More), Cyclones (34 Knots or More) and Severe Cyclones (48 Knots or More) Over the Bay of Bengal (BOB), Arabian Sea (AS) and Land Surface of India" (PDF). India Meteorological Department. สืบค้นเมื่อ 30 October 2015.
  2. RSMC — Tropical Cyclones New Delhi (2010). Report on Cyclonic Disturbances over North Indian Ocean during 2009 (PDF) (Report). India Meteorological Department. pp. 2–3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-04-06. สืบค้นเมื่อ May 24, 2011.
  3. A.K Das (March 3, 2022).https://ghostarchive.org/archive/r9frp rsmcnewdelhi.imd.gov.in. Archived from https://rsmcnewdelhi.imd.gov.in/uploads/archive/2/2_4e7630_Special%20Tropical%20Weather%20Outlook%20based%20on%200000%20UTC%20of%2003.03.2022.pdf(PDF) on March 7, 2022. Retrieved March 8, 2022.
  4. R.K Jenamani (March 3, 2022). https://ghostarchive.org/archive/7iSoP rsmcnewdelhi.imd.gov.in. Archived from https://rsmcnewdelhi.imd.gov.in/uploads/archive/2/2_4e8b3e_10.%20Special%20Tropical%20Weather%20Outlook%20based%20on%201200%20UTC%20of%2004.03.2022.pdf (PDF) on March 7, 2022. Retrieved March 8, 2022.
  5. M. Sharma (March 6, 2022). "Special Tropical Weather Outlook for North Indian Ocean (the Bay of Bengal and the Arabian Sea)" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-06. สืบค้นเมื่อ March 8, 2022.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  6. "Frequency of Cyclonic Disturbance (Depression and Above) over the Bay of Bengal, Arabian Sea and Land Surface of India during pre-monsoon season (March to May)" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. India Meteorological Department. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 20, 2022. สืบค้นเมื่อ March 8, 2022.
  7. M.Sharma (March 2, 2022). "SPECIAL MESSAGE (BOB/01/2022)" (PDF). mausam.imd.gov.in. New Delhi, India: India Meteorological Department. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ March 3, 2022. สืบค้นเมื่อ March 3, 2022.
  8. 8.0 8.1 A.K. DAS (March 3, 2022). "Special Tropical Cyclone Bulletin for Depression BOB 01 No. 1" (PDF). mausam.imd.gov.in. New Delhi, India: India Meteorological Department. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 3, 2022. สืบค้นเมื่อ March 3, 2022.
  9. Significant Tropical Weather Advisory for the Indian Ocean (Report). United States Joint Typhoon Warning Center. 2 มีนาคม 2565. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มีนาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2565. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  10. R.K. JENAMANI (March 4, 2022). "Special Tropical Cyclone Weather Outlook for Deep Depression BOB 01 No. 9" (PDF). mausam.imd.gov.in. New Delhi, India: India Meteorological Department. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 5, 2022. สืบค้นเมื่อ March 4, 2022.
  11. Prognostic Reasoning for พายุหมุนเขตร้อนไม่ทราบกำลัง 01B (One) Warning No. 1 (Report). United States Joint Typhoon Warning Center. 5 มีนาคม 2565. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 มีนาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2565. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  12. พายุหมุนเขตร้อนไม่ทราบกำลัง 01B (One) Warning No. 4 (Report). United States Joint Typhoon Warning Center. 5 มีนาคม 2565. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 มีนาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2565. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  13. Shobhit Katiyar (March 5, 2022). "Special Tropical Weather Outlook for Depression BOB 01 No. 15" (PDF). mausam.imd.gov.in. New Delhi, India: India Meteorological Department. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 6, 2022. สืบค้นเมื่อ March 6, 2022.
  14. M. Sharma (March 6, 2022). "Special Tropical Weather Outlook for Well-marked low pressure area (BOB 01)" (PDF). mausam.imd.gov.in. New Delhi, India: India Meteorological Department. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 6, 2022. สืบค้นเมื่อ March 6, 2022.
  15. Ananda Kumar Das (16 March 2022). "National Bulletin SPECIAL MESSAGE (BOB/02/2022)" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 20, 2022. สืบค้นเมื่อ 20 March 2022.
  16. "Satellite Bulletin Based on INSAT-3D of 190300 UTC" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. 19 March 2022. สืบค้นเมื่อ 20 March 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  17. RK Jenamani (20 March 2022). "Special Tropical Weather Outlook for North Indian Ocean (the Bay of Bengal and the Arabian Sea)" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 20, 2022. สืบค้นเมื่อ 20 March 2022.
  18. Tropical Cyclone Formation Alert (Invest 91B) (Report). United States Joint Typhoon Warning Center. 20 มีนาคม 2565. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มีนาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2565. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  19. 19.0 19.1 RK Jenamani (21 March 2022). "Special Tropical Weather Outlook for North Indian Ocean (the Bay of Bengal and the Arabian Sea)" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 March 2022. สืบค้นเมื่อ 21 March 2022.
  20. Tropical Cyclone Formation Alert (Invest 91B) (Report). United States Joint Typhoon Warning Center. 22 มีนาคม 2565. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 มีนาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2565. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  21. Associated Press (2022-03-22). "Myanmar braces for rain, wind as storm hits southwest coast" (ภาษาอังกฤษ). Taiwan News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-22. สืบค้นเมื่อ 2022-03-22.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  22. RK Jenamani (22 March 2022). "Special Tropical Weather Outlook for North Indian Ocean (the Bay of Bengal and the Arabian Sea)" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. สืบค้นเมื่อ 23 March 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  23. Ananda Kumar Das (23 March 2022). "National Bulletin No. 18" (PDF). rsmcnewdelhi.imd.gov.in. สืบค้นเมื่อ 23 March 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  24. https://community.wmo.int/tropical-cyclone-operational-plans
  25. "Three Killed as Cyclone Asani Hits Coastal Andhra, Heavy Winds Damage Crop". Sakshi Post (ภาษาอังกฤษ). 2022-05-12. สืบค้นเมื่อ 2022-05-12.


แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]