รถไฟใต้ดินนัมมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก รถไฟใต้ดินบังคาลอร์)
รถไฟใต้ดินนัมมา
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของรัฐบาลรัฐกรณาฏกะ
ที่ตั้งบังคาลอร์ รัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย
ประเภทรถไฟฟ้าใต้ดิน
จำนวนสาย2[1]
จำนวนสถานี16[1][2]
ผู้โดยสารต่อวัน40,380 คน[3]
ผู้อำนวยการPradeep Singh Kharola, MD
สำนักงานใหญ่BMTC บังคาลอร์
เว็บไซต์bmrc.co.in
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน20 ตุลาคม ค.ศ. 2011 (2011-10-20)
ผู้ดำเนินงานบริษัทรถไฟใต้ดินบังคาลอร์ (BMRCL)
ความยาวขบวน3 คันต่อขบวน
ระยะห่าง10 – 15 นาที
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง42.3 กิโลเมตร (26.3 ไมล์) (ระยะที่ I) [1]
จำนวนราง2
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in) สแตนดาร์ดเกจ
การจ่ายไฟฟ้ารางที่สาม 750 โวลต์
ความเร็วเฉลี่ย32 km/h (20 mph)
ความเร็วสูงสุด80 km/h (50 mph)

รถไฟใต้ดินนัมมา (กรณาฏกะ: ನಮ್ಮ ಮೆಟ್ರೋ, lit. "เมโทรของเรา") หรือรู้จักกันในชื่อ รถไฟใต้ดินบังคาลอร์ เป็นระบบรถไฟฟ้าในเมือง บังคาลอร์ รัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย ดำเนินการโดยบริษัทรถไฟใต้ดินบังคาลอร์ (BMRCL) ที่ขึ้นกับรัฐบาลรัฐกรณาฏกะ[4] โดยส่วนแรกระหว่างสถานี Baiyyappanahalli และ M.G. Road ได้เปิดให้บริการในวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2011[5]

โครงข่ายเส้นทาง[แก้]

ในระยะที่ 1 จะมีระยะทาง 42.30 กิโลเมตร ภายใน ค.ศ. 2014

เส้นทาง เปิดให้บริการ ส่วนต่อขยายครั้งล่าสุด จำนวนสถานี ระยะทาง (กิโลเมตร) สถานีปลายทาง
  สายสีม่วง 20 ตุลาคม ค.ศ. 2011 36 34.3 Whitefield Kengeri
  สายสีเขียว 1 มีนาคม ค.ศ. 2014 32 40.1 BIEC Anjanapura
สาย 3 16 18.8 R V Road Bommasandra
สาย 4 18 21.2 Gottigere Nagavara
ทั้งหมด 102 114.4

สายสีม่วง[แก้]

เป็นเส้นทางที่มีทั้งช่วงยกระดับและใต้ดิน เปิดให้บริการช่วงแรก ระหว่างสถานี Baiyappanahalli และสถานี M.G. Road ในวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2011

สายสีเขียว[แก้]

เป็นเส้นทางที่มีทั้งช่วงยกระดับและใต้ดิน มีระยะทาง 24.2 กิโลเมตร (15.0 ไมล์)

ระบบรถไฟฟ้า[แก้]

รถไฟฟ้าสายสีม่วง
ภายในรถไฟฟ้า

เป็นรถตัวถังเหล็ก จำนวน 3 คันต่อขบวน คันกลางไม่มีห้องคนขับ มีระบบปรับอากาศ ความจุ 1,000 ที่นั่ง ความเร็วสูงสุดของขบวนรถคือ 80 km/h (50 mph)[6]

ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 บริษัทบอมบาร์ดิเออร์ได้ชนะการประกวดราคา และผลิตรถไฟฟ้าขึ้นมา 150 คัน

รถไฟฟ้าทดสอบวิ่งครั้งแรกในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2010[7]

สมุดภาพ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "Project Highlights". Official webpage of B.M.R.C. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-25. สืบค้นเมื่อ 3 May 2010.
  2. "Metro gets $250m for next phase". The Times of India. 28 March 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-31. สืบค้นเมื่อ 2014-02-12.
  3. "Joyrides in Bangalore Metro are over – Bangalore – DNA". Daily News and Analysis. สืบค้นเมื่อ 25 July 2012.
  4. "BMRCL to issue bonds to raise Rs. 500 crore". The Hindu. Chennai, India. 14 June 2013.
  5. "Namma metro to chug on October 20 – southindia – Bangalore – ibnlive". Ibnlive.in.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-03. สืบค้นเมื่อ 21 October 2011.
  6. "Bangalore Metro". Railway Technology. สืบค้นเมื่อ 1 January 2010.
  7. "Railway Gazette: Bangalore metro trial". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-27. สืบค้นเมื่อ 13 February 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]