รถไฟใต้ดินเดลี สายสีน้ำเงิน
หน้าตา
รถไฟใต้ดินเดลี สายสีน้ำเงิน | |
---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |
ปลายทาง |
|
จำนวนสถานี | สายหลัก: 44 สายย่อย: 6 |
การดำเนินงาน | |
รูปแบบ | รถไฟใต้ดิน |
ระบบ | รถไฟใต้ดินเดลี |
ผู้ดำเนินงาน | Delhi Metro Rail Corporation |
ประวัติ | |
เปิดเมื่อ | สายหลัก: 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 สายย่อย: 6 มกราคม พ.ศ. 2553 |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
ระยะทาง | สายหลัก: 50.56 กิโลเมตร (31.42 ไมล์)*, สายย่อย: 6.25 กิโลเมตร (3.88 ไมล์)* |
ลักษณะทางวิ่ง | ใต้ดิน, เสมอระดับ, ยกระดับ |
รางกว้าง | Indian gauge |
ระบบจ่ายไฟ | 25 kV, 50 Hz AC through overhead catenary |
รถไฟใต้ดินเดลี สายสีน้ำเงิน เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเดลี มีจำนวน 44 สถานี จากสถานี Dwarka Sector 21 ไปสถานี Noida City Centre ระยะทาง 50.56 กิโลเมตร และมีสายย่อย จำนวน 8 สถานี จากสถานี Vaishali ไปยังสถานี Yamuna Bank ระยะทาง 6.25 กิโลเมตร[1]
รายชื่อ
[แก้]สายหลัก
[แก้]สายสีน้ำเงิน | |||||
---|---|---|---|---|---|
# | สถานี | เปิดให้บริการ | เชื่อมต่อ | รูปแบบ | |
1 | Noida City Centre | नोएडा सिटी सेंटर | 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 | ไม่มี | ยกระดับ |
2 | Noida Golf Course | नोएडा गोल्फ कोर्स | |||
3 | Botanical Garden | बॉटानिकल गार्डन | |||
4 | Noida Sector 18 | नोएडा सेक्टर १८ | |||
5 | Noida Sector 16 | नोएडा सेक्टर १६ | |||
6 | Noida Sector 15 | नोएडा सेक्टर १५ | |||
7 | New Ashok Nagar | नया अशोक नगर | |||
8 | Mayur Vihar Extension | मयूर विहार विस्तार | |||
9 | Mayur Vihar - I | मयूर विहार-१ | |||
10 | Akshardham | अक्षरधाम | |||
11 | Yamuna Bank | यमुना किनारा | 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 | สายสีน้ำเงิน สายย่อย | ระดับดิน |
12 | Indraprastha | इंद्रप्रस्थ | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 | ไม่มี | ยกระดับ |
13 | Pragati Maidan | प्रगति मैदान | |||
14 | Mandi House | मंडी हाउस | ใต้ดิน | ||
15 | ถนน Barakhambha | बाराखम्भा मार्ग | 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 | ||
16 | Rajiv Chowk | राजीव चौक | สายสีเหลือง | ||
17 | Ramakrishna Ashram Marg | रामकृष्ण आश्रम मार्ग | ไม่มี | ยกระดับ | |
18 | Jhandewalan | झंडेवालान | |||
19 | Karol Bagh | करौल बाग | |||
20 | Rajendra Place | राजेंद्र पैलेस | |||
21 | Patel Nagar | पटेल नगर | |||
22 | Shadipur | शादीपुर | |||
23 | Kirti Nagar | कीर्ति नगर | สายสีเขียว | ||
24 | Moti Nagar | मोती नगर | ไม่มี | ||
25 | Ramesh Nagar | रमेश नगर | |||
26 | สวน Rajouri Garden | राजौरी गार्डन | |||
27 | สวน Tagore Garden | टैगोर गार्डन | |||
28 | Subhash Nagar | सुभाष नगर | |||
29 | Tilak Nagar | तिलक नगर | |||
30 | Janakpuri ตะวันออก | जनकपुरी पूर्व | |||
31 | Janakpuri ตะวันตก | जनकपुरी पश्चिम | |||
32 | Uttam Nagar ตะวันออก | उत्तम नगर पूर्व | |||
33 | Uttam Nagar ตะวันตก | उत्तम नगर पश्चिम | |||
34 | Nawada | नवादा | |||
35 | Dwarka Mor | द्वारका मोड़ | |||
36 | Dwarka | द्वारका | |||
37 | Dwarka Sector 14 | द्वारका सैक्टर १४ | 1 เมษายน พ.ศ. 2549 | ||
38 | Dwarka Sector 13 | द्वारका सैक्टर १३ | |||
39 | Dwarka Sector 12 | द्वारका सैक्टर १२ | |||
40 | Dwarka Sector 11 | द्वारका सैक्टर ११ | |||
41 | Dwarka Sector 10 | द्वारका सैक्टर १० | |||
42 | Dwarka Sector 9 | द्वारका सैक्टर ९ | |||
43 | Dwarka Sector 8 | द्वारका सैक्टर ८ | 30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 | ||
44 | Dwarka Sector 21 | द्वारका सैक्टर २१ | สายท่าอากาศยาน | ใต้ดิน |
สายย่อย
[แก้]สายย่อย | |||||
---|---|---|---|---|---|
# | สถานี | เปิดให้บริการ | เชื่อมต่อ | รูปแบบ | |
1 | Yamuna Bank | यमुना किनारा | 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 | สายสีน้ำเงิน สายหลัก | ระดับดิน |
2 | Laxmi Nagar | लक्ष्मी नगर | 6 มกราคม พ.ศ. 2553[2] | ไม่มี | ยกระดับ |
3 | Nirman Vihar | निर्माण विहार | |||
4 | Preet Vihar | प्रीत विहार | |||
5 | Karkarduma | कड़कड़ डूमा | |||
6 | Anand Vihar | आनंद विहार | Anand Vihar Terminal , Anand Vihar ISBT | ||
7 | Kaushambi | कौशाम्बी | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2554[3] | ไม่มี | |
8 | Vashali | वैशाली |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Sweta Dutta (2009-11-13). "Metro rolls into Noida". Indian Express.
- ↑ "Anand Vihar Metro line flagged off". Hindustan Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-06. สืบค้นเมื่อ 2009-06-01.
- ↑ "Day One: 30,000 hop on to Vaishali Metro". The Times Of India. July 15, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-18. สืบค้นเมื่อ 2013-10-25.