รถไฟใต้ดินเดลี
![]() | |||
รถไฟฟ้าสายสีเหลืองที่สถานีรถไฟใต้ดิน Patel Chowk | |||
ข้อมูลทั่วไป | |||
---|---|---|---|
เจ้าของ | Delhi Metro Rail Corporation | ||
ที่ตั้ง | ราษฏรียราชธานีเกษตร | ||
ประเภท | ระบบขนส่งมวลชนเร็ว | ||
จำนวนสาย | 10[1] | ||
หมายเลขสาย | |||
จำนวนสถานี | 255 | ||
ผู้โดยสารต่อวัน | 2.78 ล้าน (2019–20)[2] 1 ล้าน (2020–21)[3] | ||
ผู้โดยสารต่อปี | 1.79 พันล้าน (2019)[4] | ||
บุคคลสำคัญ | Manoj Joshi (Chairman) Vikas Kumar (Managing Director)[5] | ||
สำนักงานใหญ่ | Metro Bhawan, Barakhamba Road, นิวเดลี – 110001 | ||
เว็บไซต์ | delhimetrorail.com | ||
การให้บริการ | |||
เริ่มดำเนินงาน | 4 ธันวาคม 2002 | ||
ผู้ดำเนินงาน | Delhi Metro Rail Corporation | ||
จำนวนขบวน | รถไฟ 336 คัน[6] | ||
ความยาวขบวน | ตู้โดยสาร 4/6/8 ตู้[7] | ||
ระยะห่าง | 3 นาที | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 348.12 กิโลเมตร (216.31 ไมล์) | ||
รางกว้าง |
| ||
การจ่ายไฟฟ้า | 25 kV 50 Hz AC ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว | ||
|
รถไฟใต้ดินเดลี (ฮินดี: दिल्ली मेट्रो) เป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงที่ให้บริการในกรุงนิวเดลีและปริมณฑล เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่ยาวเป็นอันดับที่สิบสามของโลก ประกอบด้วย 6 เส้นทาง รวมระยะทางได้ 189.63 กิโลเมตร (117.83 ไมล์) จำนวน 142 สถานี โดยเป็นสถานีใต้ดิน 35 สถานี สถานีเสมอระดับ 5 สถานี และที่เหลือเป็นสถานียกระดับ ทุกสถานีมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบทุกอย่าง เส้นทางมีทั้งแบบใต้ดิน เสมอดิน และยกระดับ ใช้ราง broad gauge และรางมาตรฐาน สร้างและดำเนินการโดย Delhi Metro Rail Corporation Limited (DMRC)
เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2010 มีรถไฟฟ้าจำนวน 2,700 เที่ยวต่อวัน ให้บริการเวลา 06:00-23:00 น. ความถี่ประมาณ 2 นาที 40 วินาที[8][9] รถไฟฟ้าจะพ่วงรถ 4-6 คันต่อขบวน แต่ถ้ามีผู้โดยสารมาก ก็จะเพิ่มเป็น 8 คันต่อขบวน[10] โดยสายสีเหลืองเป็นสายแรกที่มี 8 คันต่อขบวน[11][12][9][13] ใช้พลังไฟฟ้า 25 กิโลโวลต์ 50 เฮิร์ตซ์ ไฟฟ้ากระแสสลับ โดยรับส่งไฟฟ้าผ่านทางลวดไฟฟ้าเหนือหัว สถิติผู้โดยสารเฉลี่ยรายวันคือ 2.5 ล้านคน[4]
โครงข่าย[แก้]

เส้นทางปัจจุบัน[แก้]
เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2013 มีเส้นทางรถไฟฟ้าทั้งหมด 6 สาย 142 สถานี ระยะทาง 190 km (120 mi).
เส้นทาง | เปิดให้บริการครั้งแรก | เปิดให้บริการครั้งล่าสุด | จำนวนสถานี[14] | ระยะทาง (กิโลเมตร)[14] |
สถานีปลายทาง | จำนวนรถไฟฟ้า | ราง | พลังไฟฟ้า | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สายสีแดง | 24 ธันวาคม ค.ศ. 2002 | 4 มิถุนายน ค.ศ. 2008 | 21 | 25.09 | Dilshad Garden | Rithala | 26 คัน[15] | อินเดียนเกจ | 25kV OHE |
สายสีเหลือง | 20 ธันวาคม ค.ศ. 2004 | 3 กันยายน ค.ศ. 2010 | 34 | 44.65 | Jahangirpuri | HUDA City Centre | 60 คัน[8] | อินเดียนเกจ | 25kV OHE |
สายสีน้ำเงิน | 31 ธันวาคม ค.ศ. 2005 | 30 ตุลาคม ค.ศ. 2010 | 44 | 49.93 | Noida City Centre | Dwarka Sector 21 | 70 คัน[9] | อินเดียนเกจ | 25kV OHE |
7 มกราคม ค.ศ. 2010 | 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 | 7 | 8.74 | Yamuna Bank | Vaishali | อินเดียนเกจ | 25kV OHE | ||
สายสีเขียว | 3 เมษายน ค.ศ. 2010 | — | 13 | 15.14 | Inderlok | Mundka | 15 คัน[16] | สแตนดาร์ดเกจ | |
27 สิงหาคม ค.ศ. 2011 | — | 2 | 3.32 | Kirti Nagar | Ashok Park Main | สแตนดาร์ดเกจ | 25kV OHE | ||
สายสีม่วง | 3 ตุลาคม ค.ศ. 2010 | 14 มกราคม ค.ศ. 2011 | 15 | 20.04 | Central Secretariat | Badarpur | 30 คัน[17] | สแตนดาร์ดเกจ | 25kV OHE |
สายท่าอากาศยาน | 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 | — | 6 | 22.70 | New Delhi | Dwarka Sector 21 | 8 คัน | สแตนดาร์ดเกจ | 25kV OHE |
ทั้งหมด | 142 | 190 |
-
สายสีแดง
-
สายสีเหลือง
-
สายสีเขียว
-
สายสีน้ำเงิน
-
สายสีม่วง
-
สายท่าอากาศยาน
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Present Network". www.delhimetrorail.com. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
- ↑ "Economic Survey of Delhi 2021–22" (PDF). pp. 217–219, 229. สืบค้นเมื่อ 30 April 2022.
- ↑ "Avg. daily ridership of Delhi Metro at 10 lakh, down from 57 lakh pre-lockdown". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2021-03-08. สืบค้นเมื่อ 2022-02-14.
- ↑ 4.0 4.1 Ashish Chandrorkar (19 February 2021). "A comprehensive report on Metro rail systems in India" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 31 August 2021.
- ↑ "Board of Directors of DMRC". www.delhimetrorail.com. สืบค้นเมื่อ 2022-04-02.
- ↑ "Delhi Metro adding 120 more coaches to upgrade remaining fleet of 6-coach trains". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2021-04-04. สืบค้นเมื่อ 2022-04-10.
- ↑ "Introduction | DMRC". www.delhimetrorail.com. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
- ↑ 8.0 8.1 "Delhi Metro Operations Update". Press Release. DMRC. 26 November 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-12-07.
- ↑ 9.0 9.1 9.2 "More trains from Dwarka to Noida". The Times of India. 27 November 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-05. สืบค้นเมื่อ 2010-12-07.
- ↑ "Eight-coach train on Blue Line from today". 19 August 2013. สืบค้นเมื่อ 2013-08-19.
- ↑ "DMRC To Induct Two Six-Coach Trains By The End Of This Month On Line-3". Press Release. DMRC. 3 December 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-12-07.
- ↑ "Delhi Metro to add extra coaches". Business Standard. 6 January 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-01-06.
- ↑ "Metro starts shift to six-coach trains to boost capacity". Hindustan Times. 25 September 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-09-29.From June onwards the metro will have 8 coach trains plying in yellow and blue lines, due to the increasing rush
- ↑ 14.0 14.1 Sanjay Kapoor (4 September 2010). "Metro:The Complete Picture". Hindustan Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-11. สืบค้นเมื่อ 2010-09-04.
- ↑ Atul Mathur (17 September 2009). "A swankier, smarter Metro". Hindustan Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 2009-11-12.
- ↑ "Delhi Metro crosses new horizons". Hindustan Times. 3 April 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 2010-04-04.
- ↑ "Additional Information". Press Release. DMRC. สืบค้นเมื่อ 2010-10-03.
อ่านเพิ่มเติม[แก้]
- Rashmi Sadana (30 May – 2 June 2012). "Metrocity Journal: Up, Up and Away". The Wall Street Journal.
- Rashmi Sadana (13 November 2010). "On the Delhi Metro: An Ethnographic View". Economic and Political Weekly. 45 (46): 77–83.
- G. S. Dhillon (29 January 2004). "Trenchless tunnelling". The Tribune.
- A dream revisited: an archival journey into the making of the Delhi Metro Rail. DMRC. 2003. OCLC 54073649.
- A journey to remember. DMRC. 2008. p. 94. OCLC 300027063.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
