ข้ามไปเนื้อหา

มะละกอ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มะละกอ
พืชและผล ภาพจาก Medicinal-Plants (1887) ของ Koehler
สถานะการอนุรักษ์

ไม่มีข้อมูล  (IUCN 3.1)[1]
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophytes
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
Eudicots
เคลด: โรสิด
Rosids
อันดับ: อันดับผักกาด
Brassicales
วงศ์: วงศ์มะละกอ
Caricaceae
สกุล: สกุลมะละกอ
Carica
L.[2]
สปีชีส์: Carica papaya
ชื่อทวินาม
Carica papaya
L.[2]

มะละกอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carica papaya) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่งในวงศ์มะละกอ (Caricaceae)[3] สูงประมาณ 5–10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในมีโซอเมริกา ซึ่งปัจจุบันอยู่ในบริเวณเม็กซิโกตอนใต้ถึงอเมริกากลาง[4][5] ก่อนนำเข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้ ใน ค.ศ. 2020 ประเทศอินเดียผลิตมะละกอถึง 43%

การใช้งาน

[แก้]

โภชนาการ

[แก้]
มะละกอดิบ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน179 กิโลจูล (43 กิโลแคลอรี)
10.82 g
น้ำตาล7.82 g
ใยอาหาร1.7 g
0.26 g
0.47 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(6%)
47 μg
(3%)
274 μg
89 μg
ไทอามีน (บี1)
(2%)
0.023 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(2%)
0.027 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(2%)
0.357 มก.
(4%)
0.191 มก.
โฟเลต (บี9)
(10%)
38 μg
วิตามินซี
(75%)
62 มก.
วิตามินอี
(2%)
0.3 มก.
วิตามินเค
(2%)
2.6 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(2%)
20 มก.
เหล็ก
(2%)
0.25 มก.
แมกนีเซียม
(6%)
21 มก.
แมงกานีส
(2%)
0.04 มก.
ฟอสฟอรัส
(1%)
10 มก.
โพแทสเซียม
(4%)
182 มก.
โซเดียม
(1%)
8 มก.
สังกะสี
(1%)
0.08 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ88 g
Lycopene1828 µg

ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

แพทย์แผนโบราณ

[แก้]

ในการแพทย์แผนโบราณ มีการใช้มะละกอในการรักษาโรคมาลาเรีย,[6] ยาแท้ง, ยาระบาย หรือสูดควันเพื่อบรรเทาอาการหอบหืด[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Contreras, A. (2016). "Carica papaya". IUCN Red List of Threatened Species. 2016: e.T20681422A20694916. สืบค้นเมื่อ 4 January 2022.
  2. "Carica papaya L." U.S. National Plant Germplasm System. 9 May 2011. สืบค้นเมื่อ 5 September 2017.
  3. "Carica". 2013.
  4. 4.0 4.1 Morton JF (1987). "Papaya". NewCROP, the New Crop Resource Online Program, Center for New Crops & Plant Products, Purdue University; from p. 336–346. In: Fruits of warm climates, JF Morton, Miami, FL. สืบค้นเมื่อ 23 May 2015.
  5. Chávez-Pesqueira, Mariana; Núñez-Farfán, Juan (1 December 2017). "Domestication and Genetics of Papaya: A Review". Frontiers in Ecology and Evolution. 5. doi:10.3389/fevo.2017.00155. ISSN 2296-701X.
  6. Titanji, V.P.; Zofou, D.; Ngemenya, M.N. (2008). "The Antimalarial Potential of Medicinal Plants Used for the Treatment of Malaria in Cameroonian Folk Medicine". African Journal of Traditional, Complementary and Alternative Medicines. 5 (3): 302–321. PMC 2816552. PMID 20161952.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • นิยามแบบพจนานุกรมของ papaw ที่วิกิพจนานุกรม