มหาวิทยาลัยลัฟบะระ
หน้าตา
ตราอาร์มประจำมหาวิทยาลัยบะระ | |||||||||||||||||||||
คติพจน์ | ลาติน: Veritate, Scientia, Labore อังกฤษ: Truth, Wisdom and Labour หรือ สัจจะ ปัญญา วิริยะ | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ประเภท | สถาบันอุดมศึกษาของรัฐบาล | ||||||||||||||||||||
สถาปนา | พ.ศ. 2452 – วิทยาลัยเทคนิคลัฟบะระ พ.ศ. 2509 – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีลัฟบะระ[1][2] พ.ศ. 2539 – มหาวิทยาลัยลัฟบะระ[3] | ||||||||||||||||||||
ที่ตั้ง | , | ||||||||||||||||||||
วิทยาเขต | พื้นที่นอกเมือง (1092 ไร่เศษ) | ||||||||||||||||||||
สี | ลวดลายผ้าพันคอ | ||||||||||||||||||||
เครือข่าย | ยูนิเวอร์ซิตียูเค, กลุ่มวอลเลซ, AMBA, EUA, ACU, EMUA, EQUIS | ||||||||||||||||||||
เว็บไซต์ | lboro |
มหาวิทยาลัยลัฟบะระ (อังกฤษ: Loughborough University เป็นมหาวิทยาลัยขนาดเล็กตั้งที่ตำบลลัฟบะระ แคว้นเลสเตอร์เชอร์ และมีวิทยาเขตย่อยในกรุงลอนดอน ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2509 โดยยกฐานะจากวิทยาลัยเทคโนโลยีชั้นสูงที่ตั้งมาแต่ พ.ศ. 2452[4] (เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยบรูเนลลอนดอน) ต่อมาในแปี พ.ศ. 2539 ได้ตัดคำ เทคโนโลยี ออกจากชื่อมหาวิทยาลัยเพื่อแสดงถึงจำนวนสาขาวิชาที่มากขึ้น มหาวิทยาลัยฯ มีชื่อเสียงทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา[5] ปัจจุบันมีวิทยาเขตเพิ่มที่เมืองหลวง ลอนดอน ใช้ชื่อว่า มหาวิทยาลัยลัฟบะระ ลอนดอน (Loughborough University London)
ส่วนงาน
[แก้]มหาวิทยาลัยลัฟบะระไม่มีการจัดโครงสร้างแบบเป็นระเบียบภายในคณะหรือภาควิชาเช่นมหาวิทยาลัยอื่น บางส่วนงานมีสถานะเป็นสาขาวิชา บ้างก็เป็นภาควิชา[6]
- สาขาวิชาวิศวกรรมอากาศยานและยานยนต์
- สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมโยธา
- สาขาวิชาศิลปศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และนาฏกรรม
- สาขาวิชาธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
- สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
- สาขาวิชาเคมี
- สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
- สาขาวิชาการออกแบบ
- สาขาวิชาภูมิศาสตร์
- ศูนย์ภาษา
- สาขาวิชาวัสดุศาสตร์
- สาขาวิชาคณิตศาสตร์
- ศูนย์คณิตศาสตรศึกษา
- สาขาวิชาวืศวกรรมเครื่องกล ไฟฟ้า การผลิต
- สาขาวิชาฟิสิกส์
- สาขาวิชารัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างชาติ
- สาขาวิชาสังคมศาสตร์
- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา การออกกำลังกาย และสุขภาพ
- สาขาวิชาการศึกษา
ประมวลภาพ
[แก้]ที่พักนักศึกษา
[แก้]-
หอบัตเลอร์คอร์ต
-
หอเคย์ลีย์
-
หอเดวิดคอลเลตต์
-
หอเอลวิน ริชาดส์
-
หอฮัซเลอริก-รัตแลนด์
-
หอจอห์น ฟิลลิปส์
-
หอโรเบิร์ต เบกเวลล์
-
หอรอยซ์
-
หอรัทเทอร์ฟอร์ด
-
หอฟาราเดย์
-
อาคารวิทเวิร์ท ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของหอรัทเทอร์ฟอร์ด
อ้างอิง
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ มหาวิทยาลัยลัฟบะระ
- ↑ "Lboro.ac.uk". Lboro.ac.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-29. สืบค้นเมื่อ 23 October 2011.
- ↑ "Hansard.millbanksystems.com". Hansard.millbanksystems.com. 3 August 1966. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 23 October 2011.
- ↑ "About the University:History". Loughborough University.
- ↑ Loughborough University 40th Anniversary Pages เก็บถาวร 2016-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน History
- ↑ "Guardian University Guide 2013: Loughborough University". The Guardian. London. 10 May 2009. สืบค้นเมื่อ 22 August 2012.
- ↑ "Academic Schools and Departments". Loughborough University.
- L. M. Cantor & G. F. Matthews (1977) Loughborough from College to University: A History of Higher Education at Loughborough, 1909–66 ISBN 0-902761-19-6.
- Leonard Cantor (1990) Loughborough University Of Technology: Past And Present ASIN B0011T8ABK.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์มหาวิทยาลัยลัฟบะระ
- Loughborough University in London – London campus official website
- BBC Leicester – Loughborough University: Educating for 100 years