ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนจรัญสนิทวงศ์"

พิกัด: 13°46′09″N 100°29′30″E / 13.769074°N 100.491537°E / 13.769074; 100.491537
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่[[หลวงจรัญสนิทวงศ์]] (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีต[[ปลัดกระทรวงคมนาคม]] เดิม[[กรุงเทพมหานคร]]ติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร
ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่[[หลวงจรัญสนิทวงศ์]] (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีต[[ปลัดกระทรวงคมนาคม]] เดิม[[กรุงเทพมหานคร]]ติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร


ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายกำลังมีการก่อสร้าง[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]]และ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม]] (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2555 คาดว่าจะแล้วเสร็จและเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2563
ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายได้มีการก่อสร้าง[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]]และ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม]] (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2555 จากกำหนดเวลาเดิมที่จะเริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2554 แต่เนื่องจากเกิด[[อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554|วิกฤตมหาอุทกภัย]] ทำให้ต้องเลื่อนการก่อสร้างออกไป จนกระทั่งการก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2563


==ทางแยกสำคัญ==
==ทางแยกสำคัญ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:22, 18 พฤษภาคม 2563

ถนนจรัญสนิทวงศ์ช่วงแยกไฟฉาย เดือนกุมภาพันธ์ 2562
ถนนจรัญสนิทวงศ์ ใกล้แม็คโคร

ถนนจรัญสนิทวงศ์ (อักษรโรมัน: Thanon Charan Sanit Wong) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ที่สี่แยกท่าพระ ในแขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพาณิชยการธนบุรี (จรัญสนิทวงศ์ 13) ที่สามแยกพาณิชยการธนบุรี จากนั้นข้ามคลองมอญ เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนพรานนกที่สามแยกไฟฉาย จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับทางรถไฟสายใต้ (จากสถานีรถไฟธนบุรี) เข้าแขวงบางขุนนนท์ ตัดกับถนนบางขุนนนท์ที่สามแยกบางขุนนนท์ จากนั้นข้ามคลองบางกอกน้อยเข้าสู่แขวงอรุณอมรินทร์ ตัดกับถนนบรมราชชนนีที่สี่แยกบรมราชชนนีเข้าสู่พื้นที่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางบำหรุกับแขวงบางยี่ขันไปจนตัดกับถนนสิรินธรและถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด จากนั้นจึงเข้าสู่แขวงบางพลัด มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางพลัดเข้าสู่พื้นที่แขวงบางอ้อ และไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 7 ในพื้นที่ตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เดิมกรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร

ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายได้มีการก่อสร้างรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2555 จากกำหนดเวลาเดิมที่จะเริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2554 แต่เนื่องจากเกิดวิกฤตมหาอุทกภัย ทำให้ต้องเลื่อนการก่อสร้างออกไป จนกระทั่งการก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2563

ทางแยกสำคัญ

อ้างอิง

  • กนกวลี ชูชัยยะ พจนานุกรมวิสามานยนามไทย: วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม รชบฑ (แก้ไขเพิ่มเติม) ๒๕๔๘ หน้า ๒๘)
  • พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงสายบางซ่อน - สะพานพระรามหก - บางกอกน้อย เชื่อมกับทางหลวงสายธนบุรี - นครปฐม พุทธศักราช 2483 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 57 หน้า 731 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2483

แหล่งข้อมูลอื่น

13°46′09″N 100°29′30″E / 13.769074°N 100.491537°E / 13.769074; 100.491537