ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
กันยายน 1939 พลเอกอาวุโสวิทซ์เลเบินได้บัญชาการกองทัพที่ 1 ประจำ[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันตก]] และได้มีส่วนร่วมใน[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส]] หน่วยทหารของเขาซึ่งสังกัดกองทัพบกกลุ่ม C ได้ข้าม[[แนวพรมแดนมาฌีโน]]ในวันที่ 14 มิถุนายน 1940 ก่อนที่ฝรั่งเศสจะยอมจำนนในสามวันให้หลัง ด้วยความชอบนี้ วิทซ์เลเบินได้รับ[[กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก]]{{sfn|Fellgiebel|2000|p=450}} และได้เลื่อนยศขึ้นเป็นจอมพลในวันที่ 17 กรกฎาคม 1940
กันยายน 1939 พลเอกอาวุโสวิทซ์เลเบินได้บัญชาการกองทัพที่ 1 ประจำ[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันตก]] และได้มีส่วนร่วมใน[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส]] หน่วยทหารของเขาซึ่งสังกัดกองทัพบกกลุ่ม C ได้ข้าม[[แนวพรมแดนมาฌีโน]]ในวันที่ 14 มิถุนายน 1940 ก่อนที่ฝรั่งเศสจะยอมจำนนในสามวันให้หลัง ด้วยความชอบนี้ วิทซ์เลเบินได้รับ[[กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก]]{{sfn|Fellgiebel|2000|p=450}} และได้เลื่อนยศขึ้นเป็นจอมพลในวันที่ 17 กรกฎาคม 1940


ในปี 1941 เขาได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการใหญ่ด้านตะวันตก ({{lang|de|''Oberbefehlshaber West''}}) ต่อจาก[[แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท|จอมพลรุนท์ชเต็ท]] อย่างไรก็ตาม เขาดำรงตำแหน่งเพียงสิบเดือนเศษก็ขอลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลด้านสุขภาพ บางแหล่งข่าวระบุว่า เขาถูกบีบให้เกษียณในเวลานี้เนื่องจากได้วิพากษ์วิจารณ์แผนการบุกสหภาพโซเวียตใน[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา]]
ในปี 1941 เขาได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตก ({{lang|de|''Oberbefehlshaber West''}}) ต่อจาก[[แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท|จอมพลรุนท์ชเต็ท]] อย่างไรก็ตาม เขาดำรงตำแหน่งเพียงสิบเดือนเศษก็ขอลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลด้านสุขภาพ บางแหล่งข่าวระบุว่า เขาถูกบีบให้เกษียณในเวลานี้เนื่องจากได้วิพากษ์วิจารณ์แผนการบุกสหภาพโซเวียตใน[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
|ตำแหน่ง = ผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตก
|จำนวนตำแหน่ง =
|ก่อนหน้า = [[แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท|จอมพล แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท]]
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท|จอมพล แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท]]
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = 1 พฤษภาคม 1941 – 15 มีนาคม 1942
}}
{{สืบตำแหน่ง
|ตำแหน่ง = แม่ทัพใหญ่กลุ่ม D
|จำนวนตำแหน่ง =
|ก่อนหน้า = ไม่มี
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท|จอมพล แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท]]
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = 25 ตุลาคม 1940 – 15 มีนาคม 1942
}}
{{จบกล่อง}}

{{จอมพลเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง}}
{{จอมพลเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง}}
{{Birth|1881}}{{Death|1944}}
{{Birth|1881}}{{Death|1944}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:46, 15 พฤษภาคม 2563

แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน
เกิด4 ธันวาคม ค.ศ. 1881(1881-12-04)
เบร็สเลา ราชอาณาจักรปรัสเซีย
จักรวรรดิเยอรมัน
(ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์)
เสียชีวิต8 สิงหาคม ค.ศ. 1944(1944-08-08) (62 ปี)
ทัณฑสถานเพิล์ทเซินเซ กรุงเบอร์ลิน นาซีเยอรมนี
รับใช้ เยอรมนี (ถึง 1918)
 เยอรมนี (ถึง 1933)
 ไรช์เยอรมัน (ถึง 1944)
แผนก/สังกัดกองทัพบก
ประจำการ1901–1944
ชั้นยศ จอมพล
บังคับบัญชากองทัพที่ 1
การยุทธ์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่สอง
บำเหน็จกางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก

โยพ วิลเฮ็ล์ม เกออร์ค แอร์ทมัน แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน (เยอรมัน: Job Wilhelm Georg Erdmann Erwin von Witzleben) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นหนึ่งในผู้นำในแผนลับ 20 กรกฎาคม ในปี 1944 เพื่อสอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ โดยถูกวางตัวให้เป็นผู้บัญชาการสูงสุดแห่งแวร์มัคท์คนใหม่ถ้าแผนการสำเร็จ วิทซ์เลเบินถูกศาลประชาชนตัดสินให้ประหารชีวิต

วิทซ์เลเบินเป็นหนึ่งในบุคคลที่ต่อต้านระบอบนาซีตั้งแต่ที่ฮิตเลอร์เริ่มก้าวขึ้นสู่อำนาจ ยามที่พลเอกควร์ท ฟ็อน ชไลเชอร์และพลตรีเบรโดถูกสังหารในคืนมีดยาวโดยพวกนาซีอ้างว่าเป็นอุบัติเหตุ เขาและเพื่อนทหารอย่างมันชไตน์, เลพ และรุนท์ชเต็ท เข้าชื่อเรียกร้องให้มีการสอบสวนเหตุการณ์ดังกล่าว นอกจากนี้ เขายังวิพากษ์วิจารณ์ฮิตเลอร์ที่ข่มเหงรังแกจอมพลบล็อมแบร์คและนายพลฟริทช์ด้วยข้อกล่าวหาอื้อฉาว ด้วยเหตุนี้เอง วิทซ์เลเบินจึงถูกให้เกษียณก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม ฮิตเลอร์จำเป็นต้องเรียกตัววิทซ์เลเบินกลับมาทำงานอีกครั้งเพื่อเตรียมการเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง

ก่อนปี 1938 วิทซ์เลเบินเป็นสมาชิกของกลุ่มโอสเทอร์ หรือที่เรียกว่าแผนสมคบเดือนกันยายน ([Septemberverschwörung] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) สมาชิกในกลุ่มนี้มีทั้งพลเอกอาวุโสลูทวิช เบ็ค, นายพลเอริช เฮิพเนอร์, นายพลคาร์ล-ไฮน์ริช ฟ็อน ชตึลพ์นาเกิล, นายพลเรือวิลเฮ็ล์ม คานาริส และพันโทฮันส์ โอสเทอร์ ทั้งหมดร่วมวางแผนรัฐประหารโค่นล้มฮิตเลอร์ วิทซ์เลเบินเริ่มจัดแจงคนของตัวเองไปอยู่ในตำแหน่งต่างๆในย่านที่ทำการรัฐบาลของกรุงเบอร์ลิน

กันยายน 1939 พลเอกอาวุโสวิทซ์เลเบินได้บัญชาการกองทัพที่ 1 ประจำแนวรบด้านตะวันตก และได้มีส่วนร่วมในยุทธการที่ฝรั่งเศส หน่วยทหารของเขาซึ่งสังกัดกองทัพบกกลุ่ม C ได้ข้ามแนวพรมแดนมาฌีโนในวันที่ 14 มิถุนายน 1940 ก่อนที่ฝรั่งเศสจะยอมจำนนในสามวันให้หลัง ด้วยความชอบนี้ วิทซ์เลเบินได้รับกางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก[1] และได้เลื่อนยศขึ้นเป็นจอมพลในวันที่ 17 กรกฎาคม 1940

ในปี 1941 เขาได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตก ([Oberbefehlshaber West] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ต่อจากจอมพลรุนท์ชเต็ท อย่างไรก็ตาม เขาดำรงตำแหน่งเพียงสิบเดือนเศษก็ขอลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลด้านสุขภาพ บางแหล่งข่าวระบุว่า เขาถูกบีบให้เกษียณในเวลานี้เนื่องจากได้วิพากษ์วิจารณ์แผนการบุกสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา

อ้างอิง

  1. Fellgiebel 2000, p. 450.
ก่อนหน้า แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน ถัดไป
จอมพล แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท ผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตก
(1 พฤษภาคม 1941 – 15 มีนาคม 1942)
จอมพล แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท
ไม่มี แม่ทัพใหญ่กลุ่ม D
(25 ตุลาคม 1940 – 15 มีนาคม 1942)
จอมพล แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท