ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมฆโมเลกุล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pim145 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sk:Molekulárny mrak
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
[[pt:Nuvem molecular]]
[[pt:Nuvem molecular]]
[[simple:Molecular cloud]]
[[simple:Molecular cloud]]
[[sk:Molekulárny mrak]]
[[sv:Molekylmoln]]
[[sv:Molekylmoln]]
[[tr:Moleküler bulut]]
[[tr:Moleküler bulut]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:46, 12 มกราคม 2554

กลุ่มเมฆในเนบิวลาคารินาซึ่งถูกแสงดาวเป็นเวลาหลายล้านปีจนมีอุณหภูมิสูงมากและแตกตัวออกจากเนบิวลา ใกล้ ๆ กันจะเห็นดาวฤกษ์สว่างอยู่ ภาพของเมฆกลายเป็นสีแดงเพราะกระบวนการขจัดแสงน้ำเงินเพื่อลดความฟุ้งของฝุ่นในภาพ ภาพนี้ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในปี ค.ศ. 1999

เมฆโมเลกุล (อังกฤษ: Molecular Cloud) คือเมฆระหว่างดวงดาวชนิดหนึ่งที่มีความหนาแน่นมากและมีขนาดใหญ่พอจะทำให้เกิดการก่อตัวของโมเลกุลได้ โดยมากจะเป็นโมเลกุลของไฮโดรเจน (H2) บางครั้งก็เรียกว่า "อนุบาลดาวฤกษ์" (อังกฤษ: Stellar nursery) ในกรณีที่มีการก่อตัวของดาวฤกษ์อยู่ภายใน

การตรวจจับโมเลกุลไฮโดรเจนโดยการสังเกตการณ์อินฟราเรดหรือการสังเกตการณ์คลื่นวิทยุจะทำได้ยากมาก ดังนั้นการตรวจจับมักใช้การสำรวจความมีอยู่ของ H2 โดยอาศัย CO (คาร์บอนมอนอกไซด์) โดยถือว่าสัดส่วนระหว่างการสะท้อนแสงของ CO กับมวล H2 เป็นค่าคงที่ แม้ว่าหลักการของสมมุติฐานนี้จะยังเป็นที่สงสัยอยู่ในการสังเกตการณ์ดาราจักรแห่งอื่นๆ[1]

อ้างอิง

  1. Craig Kulesa. "Overview: Molecular Astrophysics and Star Formation". Research Projects. เก็บข้อมูลเมื่อ 7 กันยายน 2005.