ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมกนีทาร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
Magnetar ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น แมกนีทาร์
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "Magnetar" → "แมกนีทาร์" +แทนที่ "magnetar" → "แมกนีทาร์" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Magnetar-3b-450x580.gif|thumb|แมกนีทาร์ ในจินตนาการของจิตรกรกับเส้นสนามแม่เหล็ก]]
{{ชื่ออังกฤษ}}
[[ภาพ:Magnetar-3b-450x580.gif|thumb|Magnetar ในจินตนาการของจิตรกรกับเส้นสนามแม่เหล็ก]]


'''Magnetar''' คือ[[ดาวนิวตรอน]]ที่มี[[สนามแม่เหล็ก]]ที่กำลังแรงมาก การลดลงของกำลังการแผ่รังสีของ[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]พลังงานสูงจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[รังสีเอกซ์]]และ[[รังสีแกมมา]]<ref name="Ward">Ward; Brownlee, p.286</ref> ในทางทฤษฎีของวัตถุนี้ถูกคิดขึ้นโดย [[โรเบิร์ต ดันแคน]]และ[[คริสโตเฟอร์ ทอมป์สัน]]ในปี 1992 แต่การบันทึก[[แสงวาบรังสีแกมมา]]ครั้งแรกที่คิดว่ามาจาก magnetar คือวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1979<ref name="journal">Kouveliotou, C.; Duncan, R. C.; Thompson, C. (February 2003). "[http://solomon.as.utexas.edu/~duncan/sciam.pdf Magnetars]". ''[[Scientific American]]''; Page 35.</ref> ระหว่างทศวรรษถัดมา สมมติฐานของ Magnetar กลายเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในการอธิบาย soft gamma repeater และ anomalous X-ray pulsar
'''แมกนีทาร์''' ({{lang-en|Magnetar}}) คือ[[ดาวนิวตรอน]]ที่มี[[สนามแม่เหล็ก]]ที่กำลังแรงมาก การลดลงของกำลังการแผ่รังสีของ[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]พลังงานสูงจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[รังสีเอกซ์]]และ[[รังสีแกมมา]]<ref name="Ward">Ward; Brownlee, p.286</ref> ในทางทฤษฎีของวัตถุนี้ถูกคิดขึ้นโดย [[โรเบิร์ต ดันแคน]]และ[[คริสโตเฟอร์ ทอมป์สัน]]ในปี 1992 แต่การบันทึก[[แสงวาบรังสีแกมมา]]ครั้งแรกที่คิดว่ามาจาก แมกนีทาร์ คือวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1979<ref name="journal">Kouveliotou, C.; Duncan, R. C.; Thompson, C. (February 2003). "[http://solomon.as.utexas.edu/~duncan/sciam.pdf แมกนีทาร์s]". ''[[Scientific American]]''; Page 35.</ref> ระหว่างทศวรรษถัดมา สมมติฐานของ แมกนีทาร์ กลายเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในการอธิบาย soft gamma repeater และ anomalous X-ray pulsar


== คำอธิบาย ==
== คำอธิบาย ==
โครงสร้างกายภาพของ magnetar เป็นที่รู้กันน้อยมาก เพราะไม่มี magnetar ที่อยู่ใกล้กับโลก Magnetar บางแห่งจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 กิโลเมตร ถึงอย่างไรก็ตามมันมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์มากมาย Magnetar ถูกบีบอัดขนาดสสารชิ้นเล็ก ๆ จะมีน้ำหนักประมาณมากกว่าร้อยล้านตัน<ref name="Ward" /> Magnetar ส่วนใหญ่ถูกบันทึกไว้ว่าหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็วซึ่งอย่างน้อยหลายรอบต่อวินาที<ref>{{citeweb|url=http://www.space-art.co.uk/pages-en/stars-I/Magnetar.htm|title=Magnetar (1999)|accessdate=17 December|accessyear=2007}}</ref> ชีวิตของ magnetar จะสั้น สนามแม่เหล็กของมันจะลดลงหลังจากระยะเวลา 10,000 ปี หลังจากที่จุดนี้การเคลื่อนไหวและการแผ่รังสีเอกซ์จะสิ้นสุด จากจำนวน magnetar ที่สำรวจได้ในปัจจุบัน จะประมาณ 1 ดวงที่ตายแล้วใน[[ทางช้างเผือก]] 30 ล้านดวงหรือมากกว่านั้น<ref>
โครงสร้างกายภาพของแมกนีทาร์เป็นที่รู้กันน้อยมาก เพราะไม่มีแมกนีทาร์ที่อยู่ใกล้กับโลก แมกนีทาร์บางแห่งจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 กิโลเมตร ถึงอย่างไรก็ตามมันมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์มากมาย แมกนีทาร์ถูกบีบอัดขนาดสสารชิ้นเล็ก ๆ จะมีน้ำหนักประมาณมากกว่าร้อยล้านตัน<ref name="Ward" /> แมกนีทาร์ส่วนใหญ่ถูกบันทึกไว้ว่าหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็วซึ่งอย่างน้อยหลายรอบต่อวินาที<ref>{{citeweb|url=http://www.space-art.co.uk/pages-en/stars-I/แมกนีทาร์.htm|title=แมกนีทาร์ (1999)|accessdate=17 December|accessyear=2007}}</ref> ชีวิตของแมกนีทาร์จะสั้น สนามแม่เหล็กของมันจะลดลงหลังจากระยะเวลา 10,000 ปี หลังจากที่จุดนี้การเคลื่อนไหวและการแผ่รังสีเอกซ์จะสิ้นสุด จากจำนวนแมกนีทาร์ที่สำรวจได้ในปัจจุบัน จะประมาณ 1 ดวงที่ตายแล้วใน[[ทางช้างเผือก]] 30 ล้านดวงหรือมากกว่านั้น<ref>
{{cite web | month = March | year = 2003
{{cite web | month = March | year = 2003
| url = http://solomon.as.utexas.edu/~duncan/magnetar.html#Epilog
| url = http://solomon.as.utexas.edu/~duncan/แมกนีทาร์.html#Epilog
| title = Magnetars, Soft Gamma Repeaters and Very Strong Magnetic Fields
| title = แมกนีทาร์s, Soft Gamma Repeaters and Very Strong Magnetic Fields
| publisher = Robert C. Duncan, University of Texas at Austin
| publisher = Robert C. Duncan, University of Texas at Austin
| accessdate = 2007-05-23 }}
| accessdate = 2007-05-23 }}
</ref>
</ref>


[[ควาร์ก]]บนพื้นผิวของ magnetar จุดชนวนให้เกิดความไม่แนนอนอย่างมากในดาวและสนามแม่เหล็กที่ล้อมรอบมัน บ่อยครั้งที่ทำให้เกิด[[แสงวาบรังสีแกมมา|การวาบของรังสีแกมม่า]]ที่สามารถบันทึกบนโลกได้ในปี 1979,1998 และ 2004<ref name="journal2">Kouveliotou, C.; Duncan, R. C.; Thompson, C. (February 2003). "[http://solomon.as.utexas.edu/~duncan/sciam.pdf Magnetars]". ''[[Scientific American]]''; Page 36. </ref>
[[ควาร์ก]]บนพื้นผิวของแมกนีทาร์ จุดชนวนให้เกิดความไม่แนนอนอย่างมากในดาวและสนามแม่เหล็กที่ล้อมรอบมัน บ่อยครั้งที่ทำให้เกิด[[แสงวาบรังสีแกมมา|การวาบของรังสีแกมม่า]]ที่สามารถบันทึกบนโลกได้ในปี 1979,1998 และ 2004<ref name="journal2">Kouveliotou, C.; Duncan, R. C.; Thompson, C. (February 2003). "[http://solomon.as.utexas.edu/~duncan/sciam.pdf แมกนีทาร์s]". ''[[Scientific American]]''; Page 36. </ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 26: บรรทัด 25:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.cnn.com/2005/TECH/space/02/01/universe.magnets/index.html กำเนิด Magnetar], CNN, 2 กุมภาพันธ์ 2005
* [http://www.cnn.com/2005/TECH/space/02/01/universe.magnets/index.html กำเนิด แมกนีทาร์], CNN, 2 กุมภาพันธ์ 2005


{{ดาวฤกษ์}}
{{ดาวฤกษ์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:45, 23 สิงหาคม 2552

แมกนีทาร์ ในจินตนาการของจิตรกรกับเส้นสนามแม่เหล็ก

แมกนีทาร์ (อังกฤษ: Magnetar) คือดาวนิวตรอนที่มีสนามแม่เหล็กที่กำลังแรงมาก การลดลงของกำลังการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพลังงานสูงจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งรังสีเอกซ์และรังสีแกมมา[1] ในทางทฤษฎีของวัตถุนี้ถูกคิดขึ้นโดย โรเบิร์ต ดันแคนและคริสโตเฟอร์ ทอมป์สันในปี 1992 แต่การบันทึกแสงวาบรังสีแกมมาครั้งแรกที่คิดว่ามาจาก แมกนีทาร์ คือวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1979[2] ระหว่างทศวรรษถัดมา สมมติฐานของ แมกนีทาร์ กลายเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในการอธิบาย soft gamma repeater และ anomalous X-ray pulsar

คำอธิบาย

โครงสร้างกายภาพของแมกนีทาร์เป็นที่รู้กันน้อยมาก เพราะไม่มีแมกนีทาร์ที่อยู่ใกล้กับโลก แมกนีทาร์บางแห่งจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 กิโลเมตร ถึงอย่างไรก็ตามมันมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์มากมาย แมกนีทาร์ถูกบีบอัดขนาดสสารชิ้นเล็ก ๆ จะมีน้ำหนักประมาณมากกว่าร้อยล้านตัน[1] แมกนีทาร์ส่วนใหญ่ถูกบันทึกไว้ว่าหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็วซึ่งอย่างน้อยหลายรอบต่อวินาที[3] ชีวิตของแมกนีทาร์จะสั้น สนามแม่เหล็กของมันจะลดลงหลังจากระยะเวลา 10,000 ปี หลังจากที่จุดนี้การเคลื่อนไหวและการแผ่รังสีเอกซ์จะสิ้นสุด จากจำนวนแมกนีทาร์ที่สำรวจได้ในปัจจุบัน จะประมาณ 1 ดวงที่ตายแล้วในทางช้างเผือก 30 ล้านดวงหรือมากกว่านั้น[4]

ควาร์กบนพื้นผิวของแมกนีทาร์ จุดชนวนให้เกิดความไม่แนนอนอย่างมากในดาวและสนามแม่เหล็กที่ล้อมรอบมัน บ่อยครั้งที่ทำให้เกิดการวาบของรังสีแกมม่าที่สามารถบันทึกบนโลกได้ในปี 1979,1998 และ 2004[5]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Ward; Brownlee, p.286
  2. Kouveliotou, C.; Duncan, R. C.; Thompson, C. (February 2003). "แมกนีทาร์s". Scientific American; Page 35.
  3. "แมกนีทาร์ (1999)". สืบค้นเมื่อ 17 December. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |accessyear= ถูกละเว้น แนะนำ (|access-date=) (help)
  4. "แมกนีทาร์s, Soft Gamma Repeaters and Very Strong Magnetic Fields". Robert C. Duncan, University of Texas at Austin. 2003. สืบค้นเมื่อ 2007-05-23. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  5. Kouveliotou, C.; Duncan, R. C.; Thompson, C. (February 2003). "แมกนีทาร์s". Scientific American; Page 36.

แหล่งข้อมูลอื่น