ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาการง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Macaron.jpg|thumb|right|มาการงจากเมือง[[น็องซี]] จากสารานุกรม ''{{lang|fr|Dictionnaire encyclopédique de l'épicerie et des industries annexes''}} โดย[[อาลแบร์ แซเญอรี]] ปรับปรุงใหม่โดย ''L'Épicier'' ในปี ค.ศ. 1904, หน้า 431]]
[[ไฟล์:Macaron.jpg|thumb|right|มาการงจากเมือง[[น็องซี]] จากสารานุกรม ''{{lang|fr|Dictionnaire encyclopédique de l'épicerie et des industries annexes''}} โดย[[อาลแบร์ แซเญอรี]] ปรับปรุงใหม่โดย ''L'Épicier'' ในปี ค.ศ. 1904, หน้า 431]]
มารากองมีรสชาติคล้ายกลิ่นหัของผู้หญิงโดยเกิดจากการผสมอสุจิน้ำเมนส์และแป้งเข้าด้วยกัีในศตสรรษที่1
ถึงส่วนใหญ่จะพูดกันว่า มาการงเป็นขนมสัญชาติฝรั่งเศส ก็ยังมีข้อถกเถียงกันมากมาย สารานุกรมอาหารการกินชื่อ[[ลารุสกัสทรอนอมิก]] ({{lang|fr|''Larousse Gastronomique''}}) ระบุว่า มาการงนั้นมีมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 791 ในคอนแวนต์แห่งหนึ่งใกล้กับเมือง[[กอร์เมอรี]] [[จังหวัดแอ็งเดรลัวร์]] บ้างก็สืบค้นประวัติศาสตร์ชาติฝรั่งเศสย้อนกลับไปเมื่อปี ค.ศ. 1533 สมัยที่[[แคทเธอรีน เดอ เมดีชี|กาเตรีนา เด เมดีชี]] อภิเษกสมรสกับ[[พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส]] นางได้นำเชฟทำขนมชาวอิตาลีกลับมาด้วย<ref>[http://www.madmacnyc.com/history-of-macarons History of Macarons], Madmacnyc.com</ref> ในปี ค.ศ. 1792 ช่วงการปฏิวัติชาติฝรั่งเศส มีแม่ชีนิกายคาทอลิกสองท่านซึ่งหลบภัยไปอยู่ที่เมืองน็องซี ได้อบขนมคุกกี้มาการงขายเพื่อจะนำเงินมาจ่ายค่าบ้าน ทำให้มาการงเป็นที่รู้จักโดยทั่ว มีคนตั้งชื่อให้ท่านทั้งสองว่า "ซิสเตอร์มาการง" ซึ่งในช่วงแรกนั้น มาการงจะเป็นขนมเปล่า ๆ ไม่มีรสหรือไส้อะไรที่พิเศษ<ref>[http://www.seriouseats.com/2007/10/introduction-to-french-macarons.html Introduction to French Macarons]</ref>


จนกระทั่งในคริสต์ทศวรรษ 1830 เริ่มมีการเสิร์ฟมาการงเป็นคู่ ๆ พร้อมกับแยม เหล้า และเครื่องเทศต่าง ๆ แต่มาการงในทุกวันนี้ประกอบไปด้วยเมอแร็งก์แอลมอนด์สองชิ้นประกบกันสอดไส้ตรงกลาง ไส้ที่ว่านี้อาจจะเป็นครีมเนยที่ใช้แต่งหน้าเค้ก (บัตเตอร์ครีม) แยม หรือ[[กานัช]] ซึ่งแต่เดิมเรียกว่า "แฌร์แบ" หรือ "มาการงปารีส" มีการกล่าวอ้างว่า เมื่อต้นยุคศตวรรษที่ 20 เชฟปีแยร์ เดฟงแตนแห่งร้านขนมฝรั่งเศส[[ลาดูว์เร]] (Ladurée) เป็นผู้คิดค้นสูตรนี้ขึ้นมา แต่นักทำขนมอีกคนหนึ่งคือ โกลด แฌร์แบ ก็อ้างว่าสูตรนี้เป็นผลงานของเขาเช่นกัน<ref name=laduree>[http://www.laduree.fr/public_en/historique/histoire_macaron.htm.plus.htm The story of the Macaron], Laduree.fr</ref><ref>[http://www.foxnews.com/story/0,2933,578089,00.html Macarons, the Daddy Mac of Cookies], Fox News</ref><ref name=Jurafsky>{{cite web|last=Jurafsky|first=Dan|title=Macarons, Macaroons, Macaroni: the curious history.|url=http://www.slate.com/articles/life/food/2011/11/macarons_macaroons_and_macaroni_the_curious_history.single.html|publisher=Slate.com|accessdate=9 March 2013}}</ref>
<ref name=laduree>[http://www.laduree.fr/public_en/historique/histoire_macaron.htm.plus.htm The story of the Macaron], Laduree.fr</ref><ref>[http://www.foxnews.com/story/0,2933,578089,00.html Macarons, the Daddy Mac of Cookies], Fox News</ref><ref name=Jurafsky>{{cite web|last=Jurafsky|first=Dan|title=Macarons, Macaroons, Macaroni: the curious history.|url=http://www.slate.com/articles/life/food/2011/11/macarons_macaroons_and_macaroni_the_curious_history.single.html|publisher=Slate.com|accessdate=9 March 2013}}</ref>


== รสชาติต่าง ๆ ==
== รสชาติต่าง ๆ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:21, 7 พฤศจิกายน 2562

มาการง
มาการงจากร้านลาดูว์เร ปารีส ฝรั่งเศส
ประเภทขนมหวาน
แหล่งกำเนิดฝรั่งเศส
ส่วนผสมหลักส่วนขนมปัง : ไข่ขาว, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทราย, ผงแอลมอนด์หรือแอลมอนด์ป่น, สีผสมอาหาร
ส่วนไส้ : บัตเตอร์ครีม, กานัช หรือแยม

มาการง (ฝรั่งเศส: macaron, ออกเสียง: [makaˈʁɔ̃])[1] เป็นขนมหวานที่ได้จากการผสมเมอแร็งก์กับไข่ขาว, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายขาว, ผงแอลมอนด์หรือแอลมอนด์ป่น และสีผสมอาหาร มาการงรูปร่างเหมือนแซนด์วิช เป็นขนมปังสองชิ้นประกบกัน มีสอดไส้ตรงกลาง ส่วนไส้มักจะเป็นกานัช, บัตเตอร์ครีม (ครีมเนยที่ใช้แต่งหน้าเค้ก) หรือแยม คำว่า มาการง แผลงมาจากคำในภาษาอิตาลีว่า [macarone] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ), [maccarone] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) หรือ [maccherone] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ), เมอแร็งก์แบบอิตาลี

มาการง มีลักษณะคล้ายคุกกี้ ลักษณะเด่นของมาการงคือ ผิวด้านบนของขนมจะเรียบ ขอบรอบ ๆ เป็นรอยหยัก (มักจะเรียกว่า "ขา" หรือ "เท้า") และมีฐานเรียบแบน ขนมจะนุ่มชุ่มเล็กน้อยและละลายง่ายในปาก[2] มาการงมีหลากหลายรสชาติ ตั้งแต่รสดั้งเดิม (ราสป์เบอร์รี, ช็อกโกแลต) ไปจนถึงรสใหม่ ๆ (ฟัวกรา, ชาเขียว)[3]

คนส่วนใหญ่มักจะสับสนระหว่างมาการงกับแมคารูน (macaroon) จึงมีการใช้ชื่อภาษาฝรั่งเศสมาแทนภาษาอังกฤษเพื่อให้ดูต่างกัน แต่ก็ยิ่งทำให้สะกดชื่อกันผิดมากขึ้น บางตำราอาหารแยกชื่อ แมคารูน ไว้ใช้กับมาการงที่ไม่ใช่แบบของฝรั่งเศสดั้งเดิม แต่หลาย ๆ คนมีความเห็นว่า ขนมทั้งสองอย่างนี้มีความหมายเหมือนกัน[4] ซึ่งความจริงแล้ว คำว่า แมคารูน เป็นคำภาษาอังกฤษที่แปลมาจากคำว่า มาการง ในภาษาฝรั่งเศส เพราะฉะนั้นชื่อทั้งสองชื่อนี้มีความหมายเรียกขนมแบบเดียวกัน ทั้งนี้การใช้แต่ละชื่อก็อาจขึ้นอยู่กับการตีความของแต่ละบุคคล[4][5] เคยมีศาสตราจารย์ภาควิชาวัฒนธรรมอาหารที่สแตนฟอร์ด, แดน จูราฟสกี้ ชี้แจงว่า 'มาการง' (รวมถึง "มาการงปารีส", หรือ "มาการงแฌร์แบ") คือชื่อเรียกที่ถูกต้อง[6]

ประวัติ

มาการงจากเมืองน็องซี จากสารานุกรม [Dictionnaire encyclopédique de l'épicerie et des industries annexes] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) โดยอาลแบร์ แซเญอรี ปรับปรุงใหม่โดย L'Épicier ในปี ค.ศ. 1904, หน้า 431

มารากองมีรสชาติคล้ายกลิ่นหัของผู้หญิงโดยเกิดจากการผสมอสุจิน้ำเมนส์และแป้งเข้าด้วยกัีในศตสรรษที่1

[7][8][9]

รสชาติต่าง ๆ

ความหลากหลายของมาการง

มาการงสีต่าง ๆ
มาการงในปารีส (จานหน้าสุด)
Macarons from La Grande Épicerie, the deli department of Le Bon Marché, Paris
Macaron cookie base

ฝรั่งเศส

ในหลาย ๆ เมืองของฝรั่งเศสต่างมีประวัติที่หลากหลายและมีความเป็นมายาวนานมาก อย่างเช่นที่แคว้นลอแรนมีความโดดเด่นมาก (น็องซีและบูแล), ภูมิภาคบาสก์ (แซ็ง-ฌ็อง-เดอ-ลุซ), แซ็งเตมีลียง, อาเมียง, มงมอรียง, เลอโดรา, โซ (Sault), ชาทร์, กอร์เมอรี, ฌัวเยิซ และแซ็งต์-ครัวในเบอร์กันดี

มาการงดาเมียง (Macarons d'Amiens) ในอาเมียงมีขนาดเล็ก รูปร่างกลมแบบมาการงทั่ว ๆ ไป ทำมาจากแอลมอนด์ เพสท์ (เมล็ดแอลมอนด์บดผสมรวมกับน้ำตาล และไข่), ผลไม้และน้ำผึ้ง ซึ่งค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1855[11]

ส่วนในเมืองมงมอรียง มาการงเลื่องชื่อมากขนาดมีการสร้างพิพิธภัณฑ์โดยเฉพาะ ย้อนกลับไปในปี ค.ศ. 1920 ที่เมืองนี้มีร้านเบเกอรีมาการงที่เก่าแก่ที่สุดตั้งอยู่ ชื่อว่า แมซงรานู-เมตีวีเย (Maison Rannou-Métivier) มาการงของมงมอรียงนี้เป็นสูตรดั้งเดิมที่สืบทอดกันมากว่า 150 ปีแล้ว[12]

ในเมืองน็องซีที่แคว้นลอแรน มาการงเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์เมืองนี้เลยทีเดียว เป็นที่เล่าขานกันมาว่า หัวหน้าแม่ชีท่านหนึ่งจากเมืองเรอมีร์มง (Remiremont) ตั้งกฎขึ้นมาปกครองแม่ชีทั้งหมด กฎนี้ชื่อว่า "ดามดูว์แซ็ง-ซาเครอม็อง" (Dames du Saint-Sacrement) เป็นกฎห้ามแม่ชีไม่ให้รับประทานเนื้อทุกชนิด และต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ซึ่งมีแม่ชีสองท่าน (ซิสเตอร์มาร์เกอริตและมารี-เอลีซาแบ็ต) ที่เชื่อกันว่าคือผู้ที่คิดค้นวิธีการทำมาการงขึ้นมา เพื่อจะได้รับประทานอาหารที่เหมาะสมและเป็นไปตามกฎนั้น ต่อมาท่านทั้งสองเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "ซิสเตอร์มาการง" (เลเซอร์มาการง) ในปี ค.ศ. 1952 เมืองน็องซีนำชื่อของท่านมาใช้ตั้งชื่อถนนบางส่วนของรูว์เดอลาอาช (Rue de la Hache) (สถานที่ที่พวกท่านคิดค้นมาการงขึ้นมา) เพื่อเป็นการให้เกียรติ[13]

สวิตเซอร์แลนด์

ในสวิตเซอร์แลนด์ มียี่ห้อลุกเซิมบัวร์เกอร์ลี (Luxemburgerli) เป็นขนมที่ผสมผสานงานศิลปะขนมหวานของร้านกงฟีซรีชปรึงลี (Confiserie Sprüngli) ที่ตั้งอยู่ในเมืองซูริก มาการงของยี่ห้อลุกเซิมบัวร์เกอร์ลีนี้[14][15][16] ประกอบไปด้วยเมอแร็งก์แอลมอนด์สองแผ่น[17] สอดไส้บัตเตอร์ครีม[18][19] ขนาดชิ้นมาการงจะเล็กกว่า เบากว่ามาการงของเจ้าอื่น ๆ ว่ากันว่า ส่วนผสมเบามาก สัมผัสเหมือนอากาศ[20] รสชาติที่มีจำหน่าย ได้แก่ วานิลลา, ช็อกโกแลต, สตรัชชาเตลลา (ช็อกโกแลตชิป), คาราเมล, ถั่วเฮเซล, แชมเปญ, เหล้าอามาเรตโต, เกาลัด, มอคา, อบเชย, เลมอน, ส้มจีน และราสป์เบอร์รี รสชาติบางแบบก็มีเฉพาะบางเทศกาลเท่านั้น มาการงวางขายในตู้โชว์แช่เย็นซึ่งจะอยู่ได้นานราว 3-5 วัน

Zurich, Switzerland, Sprüngli confectionery shop display with Luxemburgerli.

ลุกเซิมบัวร์เกอร์ลีได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นโดยกามีย์ ชตูเดอร์ นักศิลปะขนมหวานซึ่งนำสูตรมาที่ซูริกหลังจากที่ได้คิดค้นขนมชนิดนี้ในร้านขนมหวานแห่งหนึ่งในลักเซมเบิร์ก (กงฟีซรีนามูร์) เมื่อปี ค.ศ. 1957 ที่นั่นเธอปรับปรุงสูตรเพื่อเข้าแข่งขันการทำศิลปะขนมหวาน คำว่า ลุกเซิมบัวร์เกอร์ลี (Luxemburgerli) คือชื่อเล่นที่เพื่อน ๆ ตั้งให้เขา เพราะครอบครัวเธอแต่เดิมมาจากลักเซมเบิร์ก แต่แรกเลยใช้ชื่อว่า แบเซเดอมุส" (Baiser de Mousse) (ภาษาฝรั่งเศสแปลว่า โฟม คิส (foam kiss)) ต่อมาเปลี่ยนเป็น "เกอเบ็คเด็สลุกเซิมบัวร์เกิร์ส" (Gebäck des Luxemburgers) ("ขนมหวานของชาวลักเซมเบิร์ก") ให้ดูเข้ากับขนมมากขึ้น ซึ่งท้ายที่สุดเปลี่ยนมาเป็นชื่อในภาษาเยอรมันแบบสวิสคือ "ลุกเซิมบัวร์เกอร์ลี" (Luxemburgerli) แปลว่า "ชาวลักเซมเบิร์กตัวน้อย"

เกาหลีใต้

มาการงเป็นที่นิยมมากในเกาหลีใต้[21] ที่นี่เรียกว่า "มาคารง" (ออกเสียงแบบภาษาเกาหลี) มีการนำผงชาเขียวหรือใบชาเขียวมาทำมาการงรสชาเขียว[22][23]

ญี่ปุ่น

มาการงในญี่ปุ่นก็เป็นที่นิยมมาก ที่นี่เรียกกันว่า "มะกะรง"[24] มีการใช้แป้งถั่วลิสงแทนแอลมอนด์และแต่งรสชาติแบบวะกะชิ (ขนมหวานดั้งเดิมของญี่ปุ่น) มีวางจำหน่ายอย่างแพร่หลายทั่วประเทศ

ความนิยม

ในปารีส ร้านขนมหวานชื่อลาดูว์เร (Ladurée) โด่งดังมากเรื่องมาการงมาเป็นเวลายาวนานถึง 150 ปี[25][26] ที่ฝรั่งเศส แมคโดนัลด์วางขายมาการงในแมคคาเฟ่ด้วย (จะเห็นในโฆษณาบางตัวที่มีการเชื่อมโยงระหว่างรูปร่างของเบอร์เกอร์กับมาการง)[25] มาการงของแมคคาเฟ่ผลิตโดยชาโตบล็อง (Château Blanc) ซึ่งคล้ายกับลาดูว์เร เพราะเป็นบริษัทภายใต้ กรุ๊ป โฮลเดอร์ (Groupe Holder) เหมือนกัน แต่สูตรของมาการงของทั้งสองร้านไม่เหมือนกัน[25]

นอกจากที่ยุโรปแล้ว มาการงแบบฝรั่งเศสนี้สามารถหาได้ในแคนาดา[27] และสหรัฐอเมริกา[28][29][30][31]

ในออสเตรเลีย มีอเดรียอาโน ซุมโบรายงานในรายการมาสเตอร์เชฟ ว่า มาการงเป็นขนมที่ถูกใจใครหลาย ๆ คน ถึงขนาดที่มีการวางจำหน่ายในแมคคาเฟ่ของแมคโดนัลด์[32]

มาการงเป็นที่นิยมมากทั่วโลก มีการประกาศให้วันที่ 20 มีนาคมเป็น "วันมาการง" เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 ที่ปารีสโดยร้านของปีแยร์ แอร์เม (Pierre Hermé) แต่นั้นมาก็เป็นที่รู้กันไปทั่วโลก ในวันมาการงนี้ ร้านมาการงหลาย ๆ ที่ทั่วโลกจะแจกมาการงลูกค้าฟรีคนละชิ้น ส่วนที่ลูกค้าซื้อเพิ่มจะนำไปบริจาคการกุศลทั้งหมด[33]

ดูเพิ่ม

  • อัลฟาคอร์ (alfajor) ขนมหวานสเปนที่มีลักษณะคล้ายกัน
  • วูปปีพาย (whoopie pie) เค้กแซนด์วิชชิ้นเล็ก ๆ แบบอเมริกัน

บรรณานุกรม

  • Meyers, Cindy: The Macaron and Madame Blanchez. In: Gastronomica. The Journal of Food and Culture, Vol. 9, No. 2 (Spring 2009), pp. 14–18, University of California Press, online.
  • Jurafsky, Dan (16 November 2011). "Macarons, Macaroons, Macaroni. The curious history". Slate. (About the history of the macaron.) {{cite magazine}}: Cite magazine ต้องการ |magazine= (help)

อ้างอิง

  1. Henry, Liz (2 May 2010). "Eats: Food quest — Paradise found: The search for the elusive macaron pays off". Sun Journal. สืบค้นเมื่อ 10 May 2012.
  2. Comparison of good and bad recipes on making macarons, Wikimama.com
  3. "Macaron". Dessert Eater.
  4. 4.0 4.1 "Macaron vs Macaroon". Foodpr0n.com. 26 February 2010. สืบค้นเมื่อ 8 July 2012.
  5. "Macarons & Macaroons: What's the Difference?". ChefSteps. 2015. สืบค้นเมื่อ 1 November 2019.
  6. "Macarons, Macaroons, Macaroni. The curious history". Slate Magazine.
  7. The story of the Macaron, Laduree.fr
  8. Macarons, the Daddy Mac of Cookies, Fox News
  9. Jurafsky, Dan. "Macarons, Macaroons, Macaroni: the curious history". Slate.com. สืบค้นเมื่อ 9 March 2013.
  10. Naherny, Michelle. "Photos courtesy of". Honey B's Macarons. สืบค้นเมื่อ 8 July 2014.
  11. Nick Rider (1 May 2005). Short Breaks Northern France. New Holland Publishers. p. 135.
  12. Press book, Musée de l'Amande et du Macaron, see article La Maison Rannou-Métiviere, July/August 2003.
  13. Notre Histoire Maison des soeurs, Achat-nancy.com
  14. Hubbeling, Christina. "Wer macht die besten Macarons? (Who makes the best macarons?)". Neue Zürcher Zeitung. Neue Zürcher Zeitung AG. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  15. "Luxemburgerli". Confiserie Sprüngli. Confiserie Sprüngli AG. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  16. Böhler, Guido. "Macarons: wer macht die besten und schönsten? (Macarons: who makes the best and most attractive ones?)". delikatessenschweiz.ch. foodaktuell.ch. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  17. Malgieri, Nick. "Baking : How to Make a Macaroon". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  18. Gasser, Benno. "Auf der Suche nach dem besten Zürcher Macaron (The search for the best Zurich macaron)". Tages-Anzeiger. Tamedia AG. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  19. Kummer, Corby. "Smackaroon! The Switzerland vs. France Cookie Smackdown". The Atlantic. The Atlantic Monthly Group. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  20. Luxemburgerli – die luftig leichte Versuchung, Spruengli.ch
  21. Cha, Daniella: "Macarons: The New Trend for Desserts." Phoenix Plume. The official newspaper for Korea International School, 27 April 2011. Retrieved 8 December 2012.
  22. "마카롱,마카롱만드는법" (ภาษาKorean). Naver. 7 August 2011. สืบค้นเมื่อ 8 May 2012.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  23. Dr. Grace (17 March 2012). "Green tea French macaron recipe". Graceful Cuisine. สืบค้นเมื่อ 8 May 2012.
  24. "ジャン=フィリップ・ダルシー「夏の新作マカロン」" (ภาษาJapanese). Fukui News. 9 July 2010. สืบค้นเมื่อ 8 May 2012.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  25. 25.0 25.1 25.2 Jargon, Julie (March 2, 2010). "Mon Dieu! Will Newfound Popularity Spoil the Dainty Macaron?". The Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ December 29, 2010.
  26. Reed, M. H. (January 29, 2009). "Macaroon Delight". The New York Times. สืบค้นเมื่อ December 29, 2010.
  27. Chesterman, Lesley (October 11, 2008). "Macaron mania hits Montreal - finally!". The Gazette (Montreal). สืบค้นเมื่อ December 29, 2010.
  28. Denn, Rebekah (October 25, 2009). "French macarons are sweet, light and luscious". The Seattle Times.
  29. Greenspan, Dorie (April 1, 2010). "Macarons: New to The Easter Parade This Year". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ December 29, 2010.
  30. "Move Over, Cupcake: Make Way For The Macaroon". NPR. February 12, 2010. สืบค้นเมื่อ December 29, 2010.
  31. "eggzmacaron". Il est difficile de résister à atteindre pour un autre!.
  32. Chavassieu, Olivia. "Heaven on Earth". Sydney Morning Herald. สืบค้นเมื่อ 7 March 2012.
  33. Macaron Day 2013

เอกสารเพิ่มเติม

แหล่งข้อมูลอื่น