ซูโครส
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
β-D-Fructofuranosyl α-D-glucopyranoside
| |
Preferred IUPAC name
(2R,3R,4S,5S,6R)-2-{[(2S,3S,4S,5R)-3,4-Dihydroxy-2,5-bis(hydroxymethyl)oxolan-2-yl]oxy}-6-(hydroxymethyl)oxane-3,4,5-triol | |
ชื่ออื่น
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ดรักแบงก์ | |
ECHA InfoCard | 100.000.304 |
EC Number |
|
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ[1] | |
C 12H 22O 11 | |
มวลโมเลกุล | 342.30 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งสีขาว |
ความหนาแน่น | 1.587 g/ซm3 (1,585 oz/cu ft), ของแข็ง |
จุดหลอมเหลว | None; decomposes at 186°C (367°F; 459 K) |
~200 g/dL (25 °C (77 °F)) (see table below for other temperatures) | |
log P | −3.76 |
โครงสร้าง | |
Monoclinic | |
P21 | |
อุณหเคมี | |
Std enthalpy of
combustion (ΔcH⦵298) |
1,349.6 kcal/mol (5,647 kJ/mol)[2] (Higher heating value) |
ความอันตราย | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
29700 mg/kg (ปาก, หนู)[4] |
NIOSH (US health exposure limits): | |
PEL (Permissible)
|
TWA 15 mg/m3 (total) TWA 5 mg/m3 (resp)[3] |
REL (Recommended)
|
TWA 10 mg/m3 (total) TWA 5 mg/m3 (resp)[3] |
IDLH (Immediate danger)
|
N.D.[3] |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 1507 |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
แลกโตส มอลโทส |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ซูโครส (อังกฤษ: Sucrose) เป็นไดแซ็กคาไรด์ชนิดหนึ่ง มีชื่อสามัญว่า น้ำตาลทราย (table sugar) ซูโครส 1 โมเลกุลประกอบด้วยมอโนแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุลได้แก่กลูโคสและฟรุคโตส
องค์ประกอบ
[แก้]ซูโครสประกอบด้วยโมเลกุลของ กลูโคส (glucose) 1 โมเลกุล เชื่อมต่อกับโมเลกุลของฟรักโทส (fructose) 1 โมเลกุล ด้วยพันธะไกลโคซิดิก (glycosidic bond) ชนิด 1→2α สูตรอย่างง่ายของซูโครส คือ C12H22O11 และชื่อเคมีคือ β-D-fructofuranosyl-(2→1)-α-D-glucopyranoside. ( α(1-2) pronounced alpha-one-two )
การผลิต
[แก้]ในประเทศไทยและประเทศในแถบเมืองร้อนสามารถผลิตซูโครสในระดับอุตสาหกรรมได้จาก อ้อย (sugar cane) ส่วนประเทศในแถบเมืองหนาวจะใช้ หัวบีทเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต น้ำตาลที่ได้จากอุตสาหกรรมเหล่านั้นเรียกว่า "น้ำตาลทราย" โดยระหว่างกระบวนการผลิตจะถูกทำให้ขาวโดยการฟอกสีและนำไปตกผลึก (crystallized) ก่อนที่จะบรรจุเพื่อส่งจำหน่าย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ แม่แบบ:ICSC-ref
- ↑ CRC Handbook of Chemistry and Physics, 49th edition, 1968-1969, p. D-188.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0574". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ "57-50-1 - CZMRCDWAGMRECN-UGDNZRGBSA-N - Sucrose [JAN:NF]". ChemIDplus. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-12. สืบค้นเมื่อ 2014-08-10.
ดูเพิ่ม
[แก้]อ่านเพิ่ม
[แก้]- Yudkin, J.; Edelman, J.; Hough, L. (1973). Sugar: Chemical, Biological and Nutritional Aspects of Sucrose. Butterworth. ISBN 978-0-408-70172-3.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "Sucrose From ScientificWiki". Computational Chemistry Wiki. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-11.
- 3D images of sucrose
- CDC – NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards