ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดไนตริก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 60: บรรทัด 60:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{สารประกอบไฮโดรเจน}}
{{สารประกอบไฮโดรเจน}}{{เรียงลำดับ|นไตริก}}

{{เรียงลำดับ|นไตริก}}
'''กรดไนตริก (Nitric acid) หรือกรดดินประสิว'''
{| class="wikitable"
|สูตรทางเคมี
|HNO<sub>3</sub>
|-
|น้ำหนักโมเลกุล
|63.012 กรัมต่อโมล
|-
|ลักษณะทางกายภาพ
|ใส,ของเหลวไม่มีสี
|-
|ความหนาแน่น
|1.51 กรัม/ซ.ม.³, ของเหลวไม่มีสี
|-
|จุดหลอมเหลว
|<nowiki>-42 °C, 231 K, -44 °F</nowiki>
|-
|จุดเดือด
|83 °C, 356 K, 181 °F (ที่กรดบริสุทธิ์. สารละลาย 68%เดือดที่ 120.5°C)
|-
|ความสามารถในการละลายน้ำ
|ผสมกันได้ดี
|}
กรดไนตริก (HNO<sub>3</sub>), หรือที่ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่ากรดดินประสิว เป็นกรดที่มีอันตรายมาก หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผลไหม้ขั้นรุนแรง กรดไนตริกนี้ ค้นพบโดยการสังเคราะห์ โดย Muslim alchemist Jabir ibn Hayyan.ประมาณ ค.ศ.800

กรดบริสุทธิ์ จะใส ไร้สี หากเก็บไว้นานจะมีสีเหลือง เนื่องจากมีส่วนประกอบของ ออกไซโของไนโตรเจน หากกรดมีความเข้มข้นสูงเกินกว่า 86% จะมีไอระเหยของกรดขึ้นมา ไอของกรดที่ระเหยออกมาจะเป็นมีขาว หรืออาจเป็นสีแดงขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของไนโตรเจนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น

คุณสมบัติ

กรดไนตริกบริสุทธ์ 100% (ปราศจากน้ำ) จะเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่น 1,552 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ -42 °C ลูกบาศก์ โดยจะเป็นผลึกสีขาว และจะเดือดที่อุณหภูมิ 83 °C แต่ก็สามารถเดือดในที่ ที่มีแสงสว่าง ทั้ง ๆ ที่อยู่ในอุณหภูมิห้อง จะมีการสลายตัวในรูปแบบไนโตรเจนไดออกไซด์ ตามปฏิกิริยา ดังนี้

4HNO<sub>3</sub> → 2H<sub>2</sub>O + 4NO<sub>2</sub> + O<sub>2</sub> (72°C)

นั่นหมายความว่า กรดไนตริกบริสุทธิ์ที่ปราศจากน้ำเจือปน ความเก็บไว้ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 °C เพื่อป้องกันการสลายตัว ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO<sub>2</sub>) ที่ละลายกลับเข้าไปที่กรดไนตริกจะมีสีเหลือง หรือเป็นสีแดงที่อุณหภูมิสูง ในขณะที่กรดไนตริกบริสุทธิ์ จะให้ไอสีขาวแพร่กระจายในอากาศ ส่วนกรดที่มีไนโตรเจนไดออกไซด์ละลายอยู่จะให้ไอสีแดงอมน้ำตาล

กรดไนตริกสามารถละลายในน้ำได้ทุกอัตราส่วน  ที่ความเข้มข้น 68% HNO<sub>3</sub> จะเป็นสารละลายอะซีโอโพรพ ''(ของเหลวผสมที่มีจุดเดือดสูงสุดและต่ำสุดที่ สามารถกลั่นออกโดยไม่มีการสลายตัวและเป็นสัดส่วนที่แน่นอน เช่น ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์กับน้ำ)'' ซึ่งที่ความเข้มข้น 68% นี้ กรดจะเดือดที่อุณหภูมิ 120.5 °C ''(ที่ความกดดันชั้นบรรยากาศ 1 atm)'' กรดสามารถอยู่ในรูปของแข็งไฮเดรต ''(สารประกอบที่มีโมเลกุลของน้ำอยู่ด้วย)'' ได้สองรูปแบบคือ โมโนไฮเดรต ''(monohydrate [HNO<sub>3</sub>''·''H<sub>2</sub>O])'' และ ไตรไฮเดรต''(trihydrate [HNO<sub>3</sub>''·''3H<sub>2</sub>O])''

ไนโตรเจนออกไซด์ (NO<sub>x</sub>) สามารถละลายในกรดไนตริกได้  ซึ่งจะละลายได้มากน้อยเพียงได้ขึ้นอยู่กับ ความเข้มข้นของออกไซด์  รวมถึงความดันไอที่อยู่เหนือของเหลว อุณหภูมิ ซึ่งจะแสดงออกเป็นสีต่าง ๆ กันตามที่ได้กล่าวมาแล้ว

คุณสมบัติทางกรด

เช่นเดียวกับกรดทั่วไป กรดไนตริกเมื่อทำปฏิกิริยากับด่าง ออกไซด์พื้นฐาน และคาร์โบเนตท์ ให้สารประกอบในรูปของเกลือ  ตัวอย่างเช่น แอมโมเนียมไนเตรด ด้วยธรรมชาติของการออกซิเดชั่น กรดไนตริกจะไม่ยอมปล่อยโปรตอนของมัน ''(นั่นคือไม่ปล่อยอะตอมของไฮโดรเจนออกไป)'' เมื่อทำปฏิกิริยากับโลหะและได้เกลือซึ่งจะมีสถานะออกซิไดซ์ที่สูงขึ้น จึงทำให้มีการกัดกร่อนที่รุนแรงกับโลหะ และควรใช้งานอย่างระมัดระวังเมื่อทำงานใกล้โลหะหรืออัลลอยส์

กรดไนตริกมี ค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของเบสอ่อน ''(acid dissociation constant [pK<sub>a</sub>]) −''1.4 เมื่อละลายในน้ำที่ 93% ที่ 0.1 โมลต่อลิตร จะมีการแตกตัวของไอออนเป็น ไนเตรดไอออน [NO<sub>3</sub><sup>-</sup>] และไนเตรตโปรตอน ซึ่งรู้จักในชื่อ ไฮโดรเนียมไอออน H<sub>3</sub>O<sup>+</sup>.

HNO<sub>3</sub> + H<sub>2</sub>O → H<sub>3</sub>O<sup>+</sup> + NO<sub>3</sub><sup>-</sup>

ปฏิกิริยากับโลหะ

กรดไนตริกมีสามารถสูงในการทำออกซิไดซ์สูงมาก สามารถทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์หลายชนิด ปฏิกิริยารุนแรงจนสามารถระเบิดได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของกรด อุณหภูมิ  และตัวลดออกซิเจน''(ในปฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง)'' ที่เกี่ยวข้อง ผลของปฏิกิริยาที่ได้มีหลากหลาย  ปฏิกิริยาสามารถเกิดขึ้นได้กับโลหะแทบทุกชนิด ยกเว้นตระกูลโลหะมีค่า (ทองคำ,เงิน,เพลตตินั่ม,พลาลาเดียม,รูธีเนี่ยม,โรเดี่ยม,ออสเมี่ยม,อิริเดี่ยม) และโลหะผสมบางชนิด (อัลลอย)  ปฏิกิริยารีแอคชั่นที่เกิดขึ้นกับ'''กรดเข้มข้น'''จะมีก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ขึ้น (NO<sub>2</sub>).

Cu + 4HNO<sub>3</sub> → Cu(NO<sub>3</sub>)<sub>2</sub> + 2NO<sub>2</sub> + 2H<sub>2</sub>O

คุณสมบัติทางกรด เมื่อเป็น'''กรดเจือจาง''' เมื่อทำปฏิกิริยา จะเกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์เกิดขึ้น (NO).

3Cu + 8HNO<sub>3</sub> → 3Cu(NO<sub>3</sub>)<sub>2</sub> + 2NO + 4H<sub>2</sub>O

เมื่อกรดไนตริกทำตัวเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาออกซิไดซิ่ง จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนขึ้น ,เมื่อใช้กรดไนตริกเจือจาง ทำปฏิกิริยากับ แมกนีเซียม(Mg) หรือ แมงกานีส(Mn) หรือ แคลเซียม (Ca) โดยทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่ำ (เย็น) จะใช้ก๊าซไฮโดรเจน

Mg<sub>(s)</sub> + 2HNO<sub>3 (aq)</sub> →  Mg(NO<sub>3</sub>)<sub>2 (aq)</sub> + H<sub>2 (g)</sub>

การสร้างฟิล์มป้องกัน (Passivation)

โครเมี่ยม ,เหล็ก และ อลูมิเนี่ยม สามารถละลายได้อย่างรวดเร็ว โดยกรดไนตริกเจือจาง , กรดเข้มข้นจะสร้างโลหะออกไซด์ ซึ่งจะป้องกันโลหะจากการเกิดออกซิเดชั่นในอนาคต กระบวนการนี้เรียกว่าการสร้างฟิล์มป้องกัน (Passivation)


ปฏิกิริยากับอโลหะ

ปฏิกิริยากับอโลหะ ยังเว้นกับซิลิคอนและกลุ่มฮาโลเจน โดยปกติจะเกิดปฏิกิริยารุนแรงซึ่งจะให้ก๊าซ ไนโตรเจนไดออกไซด์เมื่อใช้กรดเข้มข้น และก๊าวไนโตรเจนออกไซด์เมื่อใช้กรดเจือจาง

C + 4HNO<sub>3</sub> → CO<sub>2</sub> + 4NO<sub>2</sub> + 2H<sub>2</sub>O

หรือ

3C + 4HNO<sub>3</sub> → 3CO<sub>2</sub> + 4NO + 2H<sub>2</sub>O

ไอกรดไนตริกสีขาว เราเรียกว่า 100% กรดไนตริกหรือ WFNA''(White fuming nitric acid)'' ใกล้เคียงกับ แอลไฮดัสซ์ไนตริก ''(กรดไนตริกที่ไม่มีส่วนผสมของน้ำอยู่เลย)'' ไอกรดไนตริกสีขาวมีส่วนประกอบของน้ำไม่เกิน 2% และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์''(NO<sub>2</sub>)'' ไม่เกิน 0.5%

ไอกรดไนตริกสีแดง หรือ RFNA ''(Red fuming nitric acid)'', ประกอบไปด้วยก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์''(NO<sub>2</sub>)'' จำนวนหนาแน่นมาก โดยมีส่วนประกอบของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์''(NO<sub>2</sub>)'' ไม่เกิน17% และอีกสูตรหนึ่งมีส่วนประกอบของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์''(NO<sub>2</sub>)'' ไม่เกิน 13%

เราสามารถยับยั้งการเกิดไอกรดไนตริก (ทั้ง IWFNA และ IRFNA) โดยการเติม ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ (HF) 0.6 to 0.7% ลงในกรดไนตริก ฟลูออไรด์ที่ใส่เพื่อเพิ่มการป้องกันการกัดกร่อนของถังโลหะ (ฟลูออไรด์จะสร้าง ชั้นเมทัลฟลูออไรด์เคลือบผิวป้องกันโลหะ

การใช้งานในเชิงอุตสาหกรรม

กรดไนตริกสร้างขึ้นโดยการผสมก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์กับน้ำ ในบรรยากาศที่เต็มไปด้วยออกซิเจน จะเกิดปฏิกิริยารีแอคชั่น ออกซิไดซ์ เป็นกรดไนตรัส (HNO<sub>2</sub>) และกรดไนตริก (HNO<sub>3</sub>) ดังสมการ

2NO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O → HNO<sub>2</sub> + HNO<sub>3</sub>

2.ไนโตรเจนไดออกไซด์ + น้ำ → กรดไนตรัส+กรดไนตริก

กรดไนตรัสสามารถสลายตัวเป็นดังนี้

3HNO<sub>2</sub> →  HNO<sub>3</sub> + 2NO + H<sub>2</sub>O

3.กรดไนตรัส →  กรดไนตริก+ ไนตริกออกไซด์ + น้ำ)

ไนตริกออกไซด์ จะออกซิไดซ์กับไนโตรเจนไดออกไซด์  และทำปฏิกิริยากับน้ำอีกครั้ง กลายเป็นกรดไนตริก:

4NO + 3O<sub>2</sub> + 2H<sub>2</sub>O → 4HNO<sub>3</sub>

(nitric oxide + oxygen + water → nitric acid).

กรดไนตริกเจือจางสามารถทำให้เข้มข้นได้โดยการกลั่นจนมีความเข้มข้นกรดที่ 68% ณ จุดนี้ ส่วนผสมอะซีโอโทรปิค ''(ของเหลวผสมที่มีจุดเดือดสูงสุดและต่ำสุดที่ สามารถกลั่นออกโดยไม่มีการสลายตัวและเป็นสัดส่วนที่แน่นอน)''ประกอบด้วยน้ำ 32% การทำให้เข้มข้นมากกว่านี้ต้องอาศัยการกลั่นกับกรดซัลฟูริก ซึ่งทำหน้าที่เป็นสารดักจับน้ำ (dehydrating agent) ในห้องปฏิบัติการจะกลั่นโดยใช้วัสดุที่เป็นแก้วทั้งหมด และลดแรงดันเพื่อป้องกันการสลายตัวของกรด

ในการใช้งานในเชิงพาณิชย์ จะใช้สารละลายกรดที่มีความเข้มข้นของกรดไนตริกระหว่าง 52% ถึง 68% การผลิตในเชิงพาณิชย์ใช้ขบวนการที่เรียกว่า Ostwald ตามชื่อของ Wilhelm Ostwald.

กรดยังสามารถสังเคราะห์ได้โดยการออกซิไดซ์แอมโมเนีย ผลผลิตที่ได้จะถูกเจือจางโดยน้ำและเป็นส่วนหนึ่งของปฏิกิริยาเคมี อย่างไรก็ตามวิธีการนี้สำคัญในการผลิต แอมโมเนียมไนเตรด จากสารตั้งต้นแอมโมเนียโดยวิธีการของ Haber เพราะว่าผลิตผลสุดท้ายสามารถสร้างก๊าซไนโตรเจน ก๊าซไฮโดรเจน และออกซิเจน สำหรับจัดจำหน่าย

การสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ

ในห้องปฏิบัติการ กรดไนตริกสามารถสร้างได้จาก คอปเปอร์ไอออนทูไนเตรด (copper(II) nitrate) หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง โปแตสเซียมไนเตรด(KNO<sub>3</sub>) กับ กรดซัลฟูริกความเข้มข้น 96% (H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) (โดยทั้งสองมีน้ำหนักเท่า ๆ กัน) และกลั่นที่อุณหภูมิ 83 °C ซึ่งเป็นจุดเดือดของกรดไนตริก จนกระทั่งเหลือแต่ผลึกสีขาวของโปรแตสเซียมไฮโดรเจนซัลเฟต(KHSO<sub>4</sub>), ไอของกรดไนตริกสีแดงที่ได้มาอาจเปลี่ยนเป้นไอสีขาวของกรดไนตริก

H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> + KNO<sub>3</sub> → KHSO<sub>4</sub> + HNO<sub>3</sub>

ก๊าซ NO<sub>x</sub> สามารถกำจัดได้โดยการลดความดันลงที่อุณหภูมิห้อง (10-30 นาที ที่ 200 มิลลิเมตรปรอท หรือ 27 กิโลปาสคาล) จะให้ไอกรดไนตริกสีขาว โดยขบวนการนี้สามารถทำได้ทั้งลดความดันและอุณหภูมิในคราวเดียวกัน

กรดไนตริกในห้องปฏิบัติการ

IWFNA ถูกใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาออกซิไดซ์ในเชื้อเพลิงเหลวของจรวด IRFNA เป็น 1 ใน 3 ขององค์ประกอบของเชื้อเพลิงเหลว สำหรับจรวดทำลาย BOMARC

สารละลายผสมระหว่างกรดไนตริกกับแอลกอฮอลล์ (Nital) ถูกใช้ในขบวนการกัดผิวโลหะกำจัดรอยขีด (reveal the microstructure)

ในเชิงพาณิชย์มีการใช้ส่วนผสมน้ำกับกรดไนตริกความเข้มข้น 5-30% และกรดฟอสฟอริค 15-40% เพื่อใช้เป็นน้ำยาทำความสะอาดเครื่องใช้ในครัวเรือน โดยสามารถกำจัดคราบของแคลเซียมและแมกนีเซียม หรือตะกรันที่เกิดจากการใช้น้ำกระด้าง

กรดไนตริกยังถูกใช้ในขบวนการทำระเบิกที่มีไนเตรดเป็นองค์ประกอบเช่น ไนโตรกลีเซอรีน, ไตรไนโตรโทลูอีน(TNT) และ ไซโครไตรมีทีลีนไตรไนทรามีน(RDX) และแน่นอนว่าปุ๋ยอย่างแอมโมเนียมไนเตรด

งานไม้

ในความเข้มข้นต่ำ(ประมาณ 10%), กรดไนตริกใช้ในการทำให้ไม้สน หรือไม้เมเปิลดูเก่า โดยสีจะเปลี่ยนเป็นสีเทา-ทอง คล้าย ๆ กับขี้ผึ้งเก่า  และดูเป็นไม้เก่า

ใช้งานอื่น ๆ

กรดไนตตริกยังใช้ในการแยกโลหะออกจากแร่ เพราะว่าคุณสมบัติในการทำปฏิกิริยากับโลหะแทบทุกชนิด เมื่อใช้ผสมร่วมกันกับกรดไฮโดรคลอลิค  จะเป็นสารละลายกรดที่เรียกว่า Aqua Regia หรือ Royal Water ที่สามารถละลายทองคำ และแพทตินั่มได้

ความปลอดภัย

กรดไนตริกมีความสามารถในการออกซิไดซ์สูงมาก ปฏิกิริยาของกรดไนตริกกับสารประกอบเช่นไซยาไนด์, คาร์ไบด์และผงโลหะสามารถระเบิดได้ ปฏิกิริยาของกรดไนตริกกับสารประกอบสารอินทรีย์เช่น เทอร์เพนทีน (เป็นของเหลว ที่ได้จากการกลั่นเรซิ่นที่ได้จากต้นไม้ เช่นต้นสน ) ซึ่งสามารถระเบิดรุนแรงและสามารถจุดระเบิดตัวเองได้(self-igniting).


กรดไนตริกเข้มข้นสามารถกัดผิวหนังของมนุษย์ เป็นสีเหลืองเนื่องจากทำปฏิกิริยากับเจลราติน จุดคราบสีเหลืองจะเปลี่ยนสีส้มเมื่อถูกทำให้มีสภาพเป็นกลาง
[[หมวดหมู่:กรด]]
[[หมวดหมู่:กรด]]
[[หมวดหมู่:สารประกอบไฮโดรเจน]]
[[หมวดหมู่:สารประกอบไฮโดรเจน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:42, 26 สิงหาคม 2562

กรดไนตริก
ชื่อ
IUPAC name
Nitric acid
ชื่ออื่น
Aqua fortis
Spirit of nitre
Salpetre acid
Hydrogen Nitrate
Azotic acid
เลขทะเบียน
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.028.832 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 231-714-2
RTECS number
  • QU5775000
UN number 2031
คุณสมบัติ
HNO3
มวลโมเลกุล 63.012 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Clear, colorless liquid
ความหนาแน่น 1.5129 g/cm3
จุดหลอมเหลว −42 องศาเซลเซียส (−44 องศาฟาเรนไฮต์; 231 เคลวิน)
จุดเดือด 83 องศาเซลเซียส (181 องศาฟาเรนไฮต์; 356 เคลวิน)
miscible
pKa -1.4
2.17 ± 0.02 D
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ Non-flammable
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
Nitrous acid
แคทไอออนอื่น ๆ
Sodium nitrate
Potassium nitrate
Ammonium nitrate
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

กรดไนตริก หรือ กรดดินประสิว (อังกฤษ: Nitric acid) เป็นกรดที่มีอันตราย หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผลไหม้ขั้นรุนแรง กรดไนตริกนี้ ค้นพบโดยการสังเคราะห์ โดย "Muslim alchemist Jabir ibn Hayyan" ประมาณ ค.ศ. 800 กรดไนตริกบริสุทธ์ 100% (ปราศจากน้ำ) จะเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่น 1,552 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ -42 °C ลูกบาศก์ โดยจะเป็นผลึกสีขาว และจะเดือดที่อุณหภูมิ 83 °C แต่ก็สามารถเดือดในที่ ที่มีแสงสว่าง ทั้ง ๆ ที่อยู่ในอุณหภูมิห้อง[1]

สารประกอบเคมีในกรดไนตริก (HNO3) , หรือ อควา ฟอร์ติส (aqua fortis) หรือ สปิริต ออฟ ไนเตอร์ (spirit of nitre) เป็นของเหลวที่กัดกร่อนและไม่มีสี เป็นกรดที่มีพิษที่สามารถทำให้เกิดแผลไฟไหม้อย่างรุนแรง สารละลายที่มีกรดไนตริกมากกว่า 86% เรียกว่า fuming nitric acidและสามารถกัดกร่อนโลหะมีตะกูล ได้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ขาว (white fuming nitric acid) และแดง (red fuming nitric acid)

อ้างอิง

กรดไนตริก (Nitric acid) หรือกรดดินประสิว

สูตรทางเคมี HNO3
น้ำหนักโมเลกุล 63.012 กรัมต่อโมล
ลักษณะทางกายภาพ ใส,ของเหลวไม่มีสี
ความหนาแน่น 1.51 กรัม/ซ.ม.³, ของเหลวไม่มีสี
จุดหลอมเหลว -42 °C, 231 K, -44 °F
จุดเดือด 83 °C, 356 K, 181 °F (ที่กรดบริสุทธิ์. สารละลาย 68%เดือดที่ 120.5°C)
ความสามารถในการละลายน้ำ ผสมกันได้ดี

กรดไนตริก (HNO3), หรือที่ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่ากรดดินประสิว เป็นกรดที่มีอันตรายมาก หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผลไหม้ขั้นรุนแรง กรดไนตริกนี้ ค้นพบโดยการสังเคราะห์ โดย Muslim alchemist Jabir ibn Hayyan.ประมาณ ค.ศ.800

กรดบริสุทธิ์ จะใส ไร้สี หากเก็บไว้นานจะมีสีเหลือง เนื่องจากมีส่วนประกอบของ ออกไซโของไนโตรเจน หากกรดมีความเข้มข้นสูงเกินกว่า 86% จะมีไอระเหยของกรดขึ้นมา ไอของกรดที่ระเหยออกมาจะเป็นมีขาว หรืออาจเป็นสีแดงขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของไนโตรเจนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น

คุณสมบัติ

กรดไนตริกบริสุทธ์ 100% (ปราศจากน้ำ) จะเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่น 1,552 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ -42 °C ลูกบาศก์ โดยจะเป็นผลึกสีขาว และจะเดือดที่อุณหภูมิ 83 °C แต่ก็สามารถเดือดในที่ ที่มีแสงสว่าง ทั้ง ๆ ที่อยู่ในอุณหภูมิห้อง จะมีการสลายตัวในรูปแบบไนโตรเจนไดออกไซด์ ตามปฏิกิริยา ดังนี้

4HNO3 → 2H2O + 4NO2 + O2 (72°C)

นั่นหมายความว่า กรดไนตริกบริสุทธิ์ที่ปราศจากน้ำเจือปน ความเก็บไว้ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 °C เพื่อป้องกันการสลายตัว ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ที่ละลายกลับเข้าไปที่กรดไนตริกจะมีสีเหลือง หรือเป็นสีแดงที่อุณหภูมิสูง ในขณะที่กรดไนตริกบริสุทธิ์ จะให้ไอสีขาวแพร่กระจายในอากาศ ส่วนกรดที่มีไนโตรเจนไดออกไซด์ละลายอยู่จะให้ไอสีแดงอมน้ำตาล

กรดไนตริกสามารถละลายในน้ำได้ทุกอัตราส่วน  ที่ความเข้มข้น 68% HNO3 จะเป็นสารละลายอะซีโอโพรพ (ของเหลวผสมที่มีจุดเดือดสูงสุดและต่ำสุดที่ สามารถกลั่นออกโดยไม่มีการสลายตัวและเป็นสัดส่วนที่แน่นอน เช่น ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์กับน้ำ) ซึ่งที่ความเข้มข้น 68% นี้ กรดจะเดือดที่อุณหภูมิ 120.5 °C (ที่ความกดดันชั้นบรรยากาศ 1 atm) กรดสามารถอยู่ในรูปของแข็งไฮเดรต (สารประกอบที่มีโมเลกุลของน้ำอยู่ด้วย) ได้สองรูปแบบคือ โมโนไฮเดรต (monohydrate [HNO3·H2O]) และ ไตรไฮเดรต(trihydrate [HNO3·3H2O])

ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx) สามารถละลายในกรดไนตริกได้  ซึ่งจะละลายได้มากน้อยเพียงได้ขึ้นอยู่กับ ความเข้มข้นของออกไซด์  รวมถึงความดันไอที่อยู่เหนือของเหลว อุณหภูมิ ซึ่งจะแสดงออกเป็นสีต่าง ๆ กันตามที่ได้กล่าวมาแล้ว

คุณสมบัติทางกรด

เช่นเดียวกับกรดทั่วไป กรดไนตริกเมื่อทำปฏิกิริยากับด่าง ออกไซด์พื้นฐาน และคาร์โบเนตท์ ให้สารประกอบในรูปของเกลือ  ตัวอย่างเช่น แอมโมเนียมไนเตรด ด้วยธรรมชาติของการออกซิเดชั่น กรดไนตริกจะไม่ยอมปล่อยโปรตอนของมัน (นั่นคือไม่ปล่อยอะตอมของไฮโดรเจนออกไป) เมื่อทำปฏิกิริยากับโลหะและได้เกลือซึ่งจะมีสถานะออกซิไดซ์ที่สูงขึ้น จึงทำให้มีการกัดกร่อนที่รุนแรงกับโลหะ และควรใช้งานอย่างระมัดระวังเมื่อทำงานใกล้โลหะหรืออัลลอยส์

กรดไนตริกมี ค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของเบสอ่อน (acid dissociation constant [pKa]) −1.4 เมื่อละลายในน้ำที่ 93% ที่ 0.1 โมลต่อลิตร จะมีการแตกตัวของไอออนเป็น ไนเตรดไอออน [NO3-] และไนเตรตโปรตอน ซึ่งรู้จักในชื่อ ไฮโดรเนียมไอออน H3O+.

HNO3 + H2O → H3O+ + NO3-

ปฏิกิริยากับโลหะ

กรดไนตริกมีสามารถสูงในการทำออกซิไดซ์สูงมาก สามารถทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์หลายชนิด ปฏิกิริยารุนแรงจนสามารถระเบิดได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของกรด อุณหภูมิ  และตัวลดออกซิเจน(ในปฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง) ที่เกี่ยวข้อง ผลของปฏิกิริยาที่ได้มีหลากหลาย  ปฏิกิริยาสามารถเกิดขึ้นได้กับโลหะแทบทุกชนิด ยกเว้นตระกูลโลหะมีค่า (ทองคำ,เงิน,เพลตตินั่ม,พลาลาเดียม,รูธีเนี่ยม,โรเดี่ยม,ออสเมี่ยม,อิริเดี่ยม) และโลหะผสมบางชนิด (อัลลอย)  ปฏิกิริยารีแอคชั่นที่เกิดขึ้นกับกรดเข้มข้นจะมีก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ขึ้น (NO2).

Cu + 4HNO3 → Cu(NO3)2 + 2NO2 + 2H2O

คุณสมบัติทางกรด เมื่อเป็นกรดเจือจาง เมื่อทำปฏิกิริยา จะเกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์เกิดขึ้น (NO).

3Cu + 8HNO3 → 3Cu(NO3)2 + 2NO + 4H2O

เมื่อกรดไนตริกทำตัวเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาออกซิไดซิ่ง จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนขึ้น ,เมื่อใช้กรดไนตริกเจือจาง ทำปฏิกิริยากับ แมกนีเซียม(Mg) หรือ แมงกานีส(Mn) หรือ แคลเซียม (Ca) โดยทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่ำ (เย็น) จะใช้ก๊าซไฮโดรเจน

Mg(s) + 2HNO3 (aq) →  Mg(NO3)2 (aq) + H2 (g)

การสร้างฟิล์มป้องกัน (Passivation)

โครเมี่ยม ,เหล็ก และ อลูมิเนี่ยม สามารถละลายได้อย่างรวดเร็ว โดยกรดไนตริกเจือจาง , กรดเข้มข้นจะสร้างโลหะออกไซด์ ซึ่งจะป้องกันโลหะจากการเกิดออกซิเดชั่นในอนาคต กระบวนการนี้เรียกว่าการสร้างฟิล์มป้องกัน (Passivation)


ปฏิกิริยากับอโลหะ

ปฏิกิริยากับอโลหะ ยังเว้นกับซิลิคอนและกลุ่มฮาโลเจน โดยปกติจะเกิดปฏิกิริยารุนแรงซึ่งจะให้ก๊าซ ไนโตรเจนไดออกไซด์เมื่อใช้กรดเข้มข้น และก๊าวไนโตรเจนออกไซด์เมื่อใช้กรดเจือจาง

C + 4HNO3 → CO2 + 4NO2 + 2H2O

หรือ

3C + 4HNO3 → 3CO2 + 4NO + 2H2O

ไอกรดไนตริกสีขาว เราเรียกว่า 100% กรดไนตริกหรือ WFNA(White fuming nitric acid) ใกล้เคียงกับ แอลไฮดัสซ์ไนตริก (กรดไนตริกที่ไม่มีส่วนผสมของน้ำอยู่เลย) ไอกรดไนตริกสีขาวมีส่วนประกอบของน้ำไม่เกิน 2% และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) ไม่เกิน 0.5%

ไอกรดไนตริกสีแดง หรือ RFNA (Red fuming nitric acid), ประกอบไปด้วยก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) จำนวนหนาแน่นมาก โดยมีส่วนประกอบของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) ไม่เกิน17% และอีกสูตรหนึ่งมีส่วนประกอบของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) ไม่เกิน 13%

เราสามารถยับยั้งการเกิดไอกรดไนตริก (ทั้ง IWFNA และ IRFNA) โดยการเติม ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ (HF) 0.6 to 0.7% ลงในกรดไนตริก ฟลูออไรด์ที่ใส่เพื่อเพิ่มการป้องกันการกัดกร่อนของถังโลหะ (ฟลูออไรด์จะสร้าง ชั้นเมทัลฟลูออไรด์เคลือบผิวป้องกันโลหะ

การใช้งานในเชิงอุตสาหกรรม

กรดไนตริกสร้างขึ้นโดยการผสมก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์กับน้ำ ในบรรยากาศที่เต็มไปด้วยออกซิเจน จะเกิดปฏิกิริยารีแอคชั่น ออกซิไดซ์ เป็นกรดไนตรัส (HNO2) และกรดไนตริก (HNO3) ดังสมการ

2NO2 + H2O → HNO2 + HNO3

2.ไนโตรเจนไดออกไซด์ + น้ำ → กรดไนตรัส+กรดไนตริก

กรดไนตรัสสามารถสลายตัวเป็นดังนี้

3HNO2 →  HNO3 + 2NO + H2O

3.กรดไนตรัส →  กรดไนตริก+ ไนตริกออกไซด์ + น้ำ)

ไนตริกออกไซด์ จะออกซิไดซ์กับไนโตรเจนไดออกไซด์  และทำปฏิกิริยากับน้ำอีกครั้ง กลายเป็นกรดไนตริก:

4NO + 3O2 + 2H2O → 4HNO3

(nitric oxide + oxygen + water → nitric acid).

กรดไนตริกเจือจางสามารถทำให้เข้มข้นได้โดยการกลั่นจนมีความเข้มข้นกรดที่ 68% ณ จุดนี้ ส่วนผสมอะซีโอโทรปิค (ของเหลวผสมที่มีจุดเดือดสูงสุดและต่ำสุดที่ สามารถกลั่นออกโดยไม่มีการสลายตัวและเป็นสัดส่วนที่แน่นอน)ประกอบด้วยน้ำ 32% การทำให้เข้มข้นมากกว่านี้ต้องอาศัยการกลั่นกับกรดซัลฟูริก ซึ่งทำหน้าที่เป็นสารดักจับน้ำ (dehydrating agent) ในห้องปฏิบัติการจะกลั่นโดยใช้วัสดุที่เป็นแก้วทั้งหมด และลดแรงดันเพื่อป้องกันการสลายตัวของกรด

ในการใช้งานในเชิงพาณิชย์ จะใช้สารละลายกรดที่มีความเข้มข้นของกรดไนตริกระหว่าง 52% ถึง 68% การผลิตในเชิงพาณิชย์ใช้ขบวนการที่เรียกว่า Ostwald ตามชื่อของ Wilhelm Ostwald.

กรดยังสามารถสังเคราะห์ได้โดยการออกซิไดซ์แอมโมเนีย ผลผลิตที่ได้จะถูกเจือจางโดยน้ำและเป็นส่วนหนึ่งของปฏิกิริยาเคมี อย่างไรก็ตามวิธีการนี้สำคัญในการผลิต แอมโมเนียมไนเตรด จากสารตั้งต้นแอมโมเนียโดยวิธีการของ Haber เพราะว่าผลิตผลสุดท้ายสามารถสร้างก๊าซไนโตรเจน ก๊าซไฮโดรเจน และออกซิเจน สำหรับจัดจำหน่าย

การสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ

ในห้องปฏิบัติการ กรดไนตริกสามารถสร้างได้จาก คอปเปอร์ไอออนทูไนเตรด (copper(II) nitrate) หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง โปแตสเซียมไนเตรด(KNO3) กับ กรดซัลฟูริกความเข้มข้น 96% (H2SO4) (โดยทั้งสองมีน้ำหนักเท่า ๆ กัน) และกลั่นที่อุณหภูมิ 83 °C ซึ่งเป็นจุดเดือดของกรดไนตริก จนกระทั่งเหลือแต่ผลึกสีขาวของโปรแตสเซียมไฮโดรเจนซัลเฟต(KHSO4), ไอของกรดไนตริกสีแดงที่ได้มาอาจเปลี่ยนเป้นไอสีขาวของกรดไนตริก

H2SO4 + KNO3 → KHSO4 + HNO3

ก๊าซ NOx สามารถกำจัดได้โดยการลดความดันลงที่อุณหภูมิห้อง (10-30 นาที ที่ 200 มิลลิเมตรปรอท หรือ 27 กิโลปาสคาล) จะให้ไอกรดไนตริกสีขาว โดยขบวนการนี้สามารถทำได้ทั้งลดความดันและอุณหภูมิในคราวเดียวกัน

กรดไนตริกในห้องปฏิบัติการ

IWFNA ถูกใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาออกซิไดซ์ในเชื้อเพลิงเหลวของจรวด IRFNA เป็น 1 ใน 3 ขององค์ประกอบของเชื้อเพลิงเหลว สำหรับจรวดทำลาย BOMARC

สารละลายผสมระหว่างกรดไนตริกกับแอลกอฮอลล์ (Nital) ถูกใช้ในขบวนการกัดผิวโลหะกำจัดรอยขีด (reveal the microstructure)

ในเชิงพาณิชย์มีการใช้ส่วนผสมน้ำกับกรดไนตริกความเข้มข้น 5-30% และกรดฟอสฟอริค 15-40% เพื่อใช้เป็นน้ำยาทำความสะอาดเครื่องใช้ในครัวเรือน โดยสามารถกำจัดคราบของแคลเซียมและแมกนีเซียม หรือตะกรันที่เกิดจากการใช้น้ำกระด้าง

กรดไนตริกยังถูกใช้ในขบวนการทำระเบิกที่มีไนเตรดเป็นองค์ประกอบเช่น ไนโตรกลีเซอรีน, ไตรไนโตรโทลูอีน(TNT) และ ไซโครไตรมีทีลีนไตรไนทรามีน(RDX) และแน่นอนว่าปุ๋ยอย่างแอมโมเนียมไนเตรด

งานไม้

ในความเข้มข้นต่ำ(ประมาณ 10%), กรดไนตริกใช้ในการทำให้ไม้สน หรือไม้เมเปิลดูเก่า โดยสีจะเปลี่ยนเป็นสีเทา-ทอง คล้าย ๆ กับขี้ผึ้งเก่า  และดูเป็นไม้เก่า

ใช้งานอื่น ๆ

กรดไนตตริกยังใช้ในการแยกโลหะออกจากแร่ เพราะว่าคุณสมบัติในการทำปฏิกิริยากับโลหะแทบทุกชนิด เมื่อใช้ผสมร่วมกันกับกรดไฮโดรคลอลิค  จะเป็นสารละลายกรดที่เรียกว่า Aqua Regia หรือ Royal Water ที่สามารถละลายทองคำ และแพทตินั่มได้

ความปลอดภัย

กรดไนตริกมีความสามารถในการออกซิไดซ์สูงมาก ปฏิกิริยาของกรดไนตริกกับสารประกอบเช่นไซยาไนด์, คาร์ไบด์และผงโลหะสามารถระเบิดได้ ปฏิกิริยาของกรดไนตริกกับสารประกอบสารอินทรีย์เช่น เทอร์เพนทีน (เป็นของเหลว ที่ได้จากการกลั่นเรซิ่นที่ได้จากต้นไม้ เช่นต้นสน ) ซึ่งสามารถระเบิดรุนแรงและสามารถจุดระเบิดตัวเองได้(self-igniting).


กรดไนตริกเข้มข้นสามารถกัดผิวหนังของมนุษย์ เป็นสีเหลืองเนื่องจากทำปฏิกิริยากับเจลราติน จุดคราบสีเหลืองจะเปลี่ยนสีส้มเมื่อถูกทำให้มีสภาพเป็นกลาง