ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฮนทซ์ กูเดรีอัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
สะกดคำให้ถูก Guderian ไม่ได้อ่านว่ากูเดรีอันแต่อ่านว่ากูเดเลี่ยน
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox military person
{{Infobox military person
| name = ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดรีอัน
| name = ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดเลี่ยน
| birth_date = {{Birth date|1888|6|17|df=y}}
| birth_date = {{Birth date|1888|6|17|df=y}}
| death_date = {{dda|1954|5|14|1888|6|17|df=y}}
| death_date = {{dda|1954|5|14|1888|6|17|df=y}}
| image = [[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 101I-139-1112-17, Heinz Guderian.jpg|250px]]
| image = [[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 101I-139-1112-17, Heinz Guderian.jpg|250px]]
| caption = กูเดรีอันที่[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]] เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1941
| caption = กูเดเลี่ยนที่[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]] เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1941
| birth_place = [[Chełmno|คุล์ม]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]])
| birth_place = [[Chełmno|คุล์ม]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]])
| death_place = [[ชวังเกา]] [[รัฐบาวาเรีย]] [[เยอรมนีตะวันตก]]
| death_place = [[ชวังเกา]] [[รัฐบาวาเรีย]] [[เยอรมนีตะวันตก]]
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
| laterwork = }}
| laterwork = }}


'''ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดรีอัน''' ({{lang-de|Heinz Wilhelm Guderian}}) เป็น[[พลเอกอาวุโส (เยอรมัน)|พลเอกอาวุโส]]แห่ง[[กองทัพบกเยอรมัน (แวร์มัคท์)|กองทัพบกเยอรมัน]]ในสมัย[[นาซีเยอรมนี]] เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ{{อ้างอิง}} และมีสมญาว่า '''ไฮนทซ์สายฟ้าแลบ''' ({{lang|de|''Schneller Heinz''}}) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (''[[บลิทซ์ครีค]]'') ที่ทำให้สามารถเข้ายึด[[โปแลนด์]]ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้[[ฝรั่งเศส]]ยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่[[แม่น้ำเมิซ]]และเป็นผู้สร้าง[[รถถัง]]ที่มีชื่อเสียง เช่น [[รถถังพันเทอร์]], รถถัง[[ทีเกอร์ 2]] เป็นต้น
'''ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดเลี่ยน'''({{lang-de|Heinz Wilhelm Guderian}}) เป็น[[พลเอกอาวุโส (เยอรมัน)|พลเอกอาวุโส]]แห่ง[[กองทัพบกเยอรมัน (แวร์มัคท์)|กองทัพบกเยอรมัน]]ในสมัย[[นาซีเยอรมนี]] เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ{{อ้างอิง}} และมีสมญาว่า '''ไฮนทซ์สายฟ้าแลบ''' ({{lang|de|''Schneller Heinz''}}) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (''[[บลิทซ์ครีค]]'') ที่ทำให้สามารถเข้ายึด[[โปแลนด์]]ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้[[ฝรั่งเศส]]ยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่[[แม่น้ำเมิซ]]และเป็นผู้สร้าง[[รถถัง]]ที่มีชื่อเสียง เช่น [[รถถังพันเทอร์]], รถถัง[[ทีเกอร์ 2]] เป็นต้น


หน่วยของกูเดรีอันยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 เขาอยู่ในการควบคุมตัวของสหรัฐในฐานะจำเลยอาชญากรสงคราม เขาถูกสอบสวนแต่ก็ไม่ถูกตั้งข้อหาหรือความผิดใด ๆ เขาได้รับการปล่อยตัวในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1948 เขามักถูกรับเชิญจากกลุ่มทหารผ่านศึกชาวอังกฤษ ซึ่งเขาร่วมแบ่งปันประสบการณ์และวิเคราะห์สนามรบในอดีตกับบรรดาอดีตศัตรู นอกจากนี้ยังได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาในการก่อตั้งกองทัพของ[[เยอรมนีตะวันตก]]ด้วย
หน่วยของกูเดเลี่ยนยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 เขาอยู่ในการควบคุมตัวของสหรัฐในฐานะจำเลยอาชญากรสงคราม เขาถูกสอบสวนแต่ก็ไม่ถูกตั้งข้อหาหรือความผิดใด ๆ เขาได้รับการปล่อยตัวในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1948 เขามักถูกรับเชิญจากกลุ่มทหารผ่านศึกชาวอังกฤษ ซึ่งเขาร่วมแบ่งปันประสบการณ์และวิเคราะห์สนามรบในอดีตกับบรรดาอดีตศัตรู นอกจากนี้ยังได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาในการก่อตั้งกองทัพของ[[เยอรมนีตะวันตก]]ด้วย


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดรีอัน เกิดที่เมืองคุล์ม [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]] เขาเกิดในครอบครัวมีอันจะกิน เป็นบุตรของร้อยโท ฟรีดริช กูเดรีอัน (Friedrich Guderian) กับนางคลารา เคียร์ชฮ็อฟ (Clara Kirchhoff)<ref name="Magill2014">{{cite book|author=Frank N. Magill|title=The 20th Century Go-N: Dictionary of World Biography|url=https://books.google.com/books?id=I3sBAwAAQBAJ&pg=PA1490|date=5 March 2014|publisher=Routledge|isbn=978-1-317-74060-5|pages=1490–}}</ref> ใน ค.ศ. 1901 เขาเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนนายร้อย[[คาลส์รูเออ]] ก่อนที่จะย้ายมายังโรงเรียนนายร้อยโกรส-ลิชเทอร์เฟ็ลเดอ (Groß-Lichterfelde) ใกล้กับกรุงเบอร์ลิน
ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดเลี่่ยน เกิดที่เมืองคุล์ม [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]] เขาเกิดในครอบครัวมีอันจะกิน เป็นบุตรของร้อยโท ฟรีดริช กูเดเลี่ยน (Friedrich Guderian) กับนางคลารา เคียร์ชฮ็อฟ (Clara Kirchhoff)<ref name="Magill2014">{{cite book|author=Frank N. Magill|title=The 20th Century Go-N: Dictionary of World Biography|url=https://books.google.com/books?id=I3sBAwAAQBAJ&pg=PA1490|date=5 March 2014|publisher=Routledge|isbn=978-1-317-74060-5|pages=1490–}}</ref> ใน ค.ศ. 1901 เขาเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนนายร้อย[[คาลส์รูเออ]] ก่อนที่จะย้ายมายังโรงเรียนนายร้อยโกรส-ลิชเทอร์เฟ็ลเดอ (Groß-Lichterfelde) ใกล้กับกรุงเบอร์ลิน


=== เข้ารับราชการทหาร ===
=== เข้ารับราชการทหาร ===
บรรทัด 35: บรรทัด 35:


=== ผู้เชี่ยวชาญยานเกราะ ===
=== ผู้เชี่ยวชาญยานเกราะ ===
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 101III-Wiesebach-152-14A, Offiziere bei Inspektion Panzer VI (Tiger I).jpg|190px|thumb|กูเดรีอันขณะตรวจจถถัง[[ทีเกอร์ 1]] ในปี 1943]]
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 101III-Wiesebach-152-14A, Offiziere bei Inspektion Panzer VI (Tiger I).jpg|190px|thumb|กูเดเลี่ยนขณะตรวจจถถัง[[ทีเกอร์ 1]] ในปี 1943]]
ด้วยหน้าที่นี้เอง ที่ทำให้เขาได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้าด้านยานยนต์และยานเกราะ หนังสือที่เขาศึกษาส่วนมากเป็นหนังสือที่เขียนโดยร้อยเอก ลิดเดิลล์ ฮาร์ต (Liddell Hart) ทหารอังกฤษผู้มากประสบการณ์ด้านยานเกราะ ร้อยเอก ฮาร์ต ให้ความสำคัญกับการใช้กำลังรถถังและยานเกราะในการรบระยะไกล รวมทั้งได้เสนอแนวคิดการรุกแบบประสานงานระหว่างยานเกราะและทหารราบ ซึ่งในยุคนั้น ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนารถถังและยานเกราะยังถือเป็นเรื่องใหม่สำหรับกองทัพเยอรมัน การค้นคว้าอย่างจริงจังของกูเดรีอันทำให้เขากลายเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ไปโดยปริยาย บทความด้านยานเกราะของเขาได้รับการตีพิมพ์ในวารสารกองทัพเป็นประจำ ซึ่งได้ทำให้ชื่อของเขาเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น
ด้วยหน้าที่นี้เอง ที่ทำให้เขาได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้าด้านยานยนต์และยานเกราะ หนังสือที่เขาศึกษาส่วนมากเป็นหนังสือที่เขียนโดยร้อยเอก ลิดเดิลล์ ฮาร์ต (Liddell Hart) ทหารอังกฤษผู้มากประสบการณ์ด้านยานเกราะ ร้อยเอก ฮาร์ต ให้ความสำคัญกับการใช้กำลังรถถังและยานเกราะในการรบระยะไกล รวมทั้งได้เสนอแนวคิดการรุกแบบประสานงานระหว่างยานเกราะและทหารราบ ซึ่งในยุคนั้น ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนารถถังและยานเกราะยังถือเป็นเรื่องใหม่สำหรับกองทัพเยอรมัน การค้นคว้าอย่างจริงจังของกูเดเลี่ยนทำให้เขากลายเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ไปโดยปริยาย บทความด้านยานเกราะของเขาได้รับการตีพิมพ์ในวารสารกองทัพเป็นประจำ ซึ่งได้ทำให้ชื่อของเขาเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น


ในช่วง ค.ศ. 1923–1924 พันโท [[วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์]] ได้จำลองการรบที่มีการประสานงานกันระหว่างรถถัง ยานเกราะ ทหารราบ และอากาศยาน การฝึกนี้เป็นที่สนใจของกรมการฝึกกองทัพบกอย่างมาก กูเดรีอันได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ฝึกสอนด้านยุทธวิธีและประวัติศาสตร์การทหาร ทำหน้าที่เผยแพร่การรบแบบใหม่ให้แก่หน่วยทหารต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนยุทธวิธีให้กับกองรถถัง ถือเป็นครั้งแรกที่เขามีโอกาสได้เห็นรถถังอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะเครื่องไม้เครื่องมือภายในรถถัง เกิดเป็นแนวความคิดที่ว่า :
ในช่วง ค.ศ. 1923–1924 พันโท [[วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์]] ได้จำลองการรบที่มีการประสานงานกันระหว่างรถถัง ยานเกราะ ทหารราบ และอากาศยาน การฝึกนี้เป็นที่สนใจของกรมการฝึกกองทัพบกอย่างมาก กูเดรีอันได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ฝึกสอนด้านยุทธวิธีและประวัติศาสตร์การทหาร ทำหน้าที่เผยแพร่การรบแบบใหม่ให้แก่หน่วยทหารต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนยุทธวิธีให้กับกองรถถัง ถือเป็นครั้งแรกที่เขามีโอกาสได้เห็นรถถังอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะเครื่องไม้เครื่องมือภายในรถถัง เกิดเป็นแนวความคิดที่ว่า :
บรรทัด 45: บรรทัด 45:


=== สมัยนาซี ===
=== สมัยนาซี ===
[[ไฟล์:091220 - Heinz Guderian.jpg|190px|thumb|กูเดรีอันระหว่างเดินทางไปแนวรบด้านตะวันออก ค.ศ. 1943]]
[[ไฟล์:091220 - Heinz Guderian.jpg|190px|thumb|กูเดเลี่ยนระหว่างเดินทางไปแนวรบด้านตะวันออก ค.ศ. 1943]]
ใน ค.ศ. 1933 เมื่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ขึ้นดำรงตำแหน่ง[[ฟือเรอร์]] กูเดรีอันได้มีโอกาสฟังสุนทรพจน์ของฮิตเลอร์ในงานแสดงรถยนต์ในกรุงเบอร์ลิน เขามีความประทับใจมากที่ฮิตเลอร์ประกาศว่าจะยกเลิกภาษีรถยนต์ และสร้างทางหลวง[[เอาโทบาน]] รวมทั้งจะสร้างรถยนต์ราคาย่อมเยาสำหรับประชาชน นั่นคือรถ[[ฟ็อลคส์วาเกิน]] นอกจากนี้ ฮิตเลอร์ยังแต่งตั้งพลเอก [[แวร์เนอร์ ฟ็อน บล็อมแบร์ค]] เป็นรัฐมนตรีว่าการสงคราม บล็อมแบร์คเป็นบุคคลที่มีหัวสมัยใหม่ ตรงกับแนวทางการพัฒนาการรบโดยใช้รถถังเป็นหลักของกูเดรีอัน นอกจากนั้น ฮิตเลอร์ซึ่งเป็นทหารเก่าก็สนใจเรื่องการเคลื่อนย้ายกำลังพลและการใช้ยานเกราะในการรบอยู่มากพอควร ในห้วงเวลานี้เองที่เยอรมันได้ร่วมกับ[[สหภาพโซเวียต]]ทำการพัฒนารถถังอย่างลับ ๆ ในดินแดนของโซเวียต
ใน ค.ศ. 1933 เมื่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ขึ้นดำรงตำแหน่ง[[ฟือเรอร์]] กูเดเลี่ยนได้มีโอกาสฟังสุนทรพจน์ของฮิตเลอร์ในงานแสดงรถยนต์ในกรุงเบอร์ลิน เขามีความประทับใจมากที่ฮิตเลอร์ประกาศว่าจะยกเลิกภาษีรถยนต์ และสร้างทางหลวง[[เอาโทบาน]] รวมทั้งจะสร้างรถยนต์ราคาย่อมเยาสำหรับประชาชน นั่นคือรถ[[ฟ็อลคส์วาเกิน]] นอกจากนี้ ฮิตเลอร์ยังแต่งตั้งพลเอก [[แวร์เนอร์ ฟ็อน บล็อมแบร์ค]] เป็นรัฐมนตรีว่าการสงคราม บล็อมแบร์คเป็นบุคคลที่มีหัวสมัยใหม่ ตรงกับแนวทางการพัฒนาการรบโดยใช้รถถังเป็นหลักของกูเดรีอัน นอกจากนั้น ฮิตเลอร์ซึ่งเป็นทหารเก่าก็สนใจเรื่องการเคลื่อนย้ายกำลังพลและการใช้ยานเกราะในการรบอยู่มากพอควร ในห้วงเวลานี้เองที่เยอรมันได้ร่วมกับ[[สหภาพโซเวียต]]ทำการพัฒนารถถังอย่างลับ ๆ ในดินแดนของโซเวียต


ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1933 กูเดรีอันได้รับการเลื่อนยศเป็นพันเอก และสองเดือนต่อมาได้รับตำแหน่งเป็นเสนาธิการกองบัญชาการทหารยานเกราะ และมีโอกาสได้นำเสนออาวุธยุทโธปกรณ์ที่เยอรมันพัฒนาขึ้นต่อฮิตเลอร์เป็นครั้งแรก เขาได้สาธิตการเข้าตีของหมวดจักรยานยนต์, หมวดต่อสู้รถถัง, หมวดรถถัง[[พันท์เซอร์ 1]], หมวดรถหุ้มเกราะเบา และหมวดยานเกราะลาดตระเวน ฮิตเลอร์ประทับใจการสาธิตของกูเดรีอันอย่างมาก ถึงกลับกล่าวว่า "นี่แหละสิ่งที่ฉันต้องการ นี่แหล่ะสิ่งที่ฉันอยากจะมี" ตั้งแต่นั้นมาการฝึกจู่โจมโดยหน่วยรถถังก็เริ่มขึ้นอย่างจริงจัง แม้ระยะแรกจะเป็นเพียงการใช้รถถังจำลองจากไม้ในการฝึกก็ตาม แต่ก็ถือเป็นนิมิตหมายที่ดี ในขณะที่อังกฤษและฝรั่งเศสยังคงมองรถถังและยานเกราะเป็นเพียงเครื่องมือสนับสนุนทหารราบเท่านั้น
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1933 กูเดเลี่ยนได้รับการเลื่อนยศเป็นพันเอก และสองเดือนต่อมาได้รับตำแหน่งเป็นเสนาธิการกองบัญชาการทหารยานเกราะ และมีโอกาสได้นำเสนออาวุธยุทโธปกรณ์ที่เยอรมันพัฒนาขึ้นต่อฮิตเลอร์เป็นครั้งแรก เขาได้สาธิตการเข้าตีของหมวดจักรยานยนต์, หมวดต่อสู้รถถัง, หมวดรถถัง[[พันท์เซอร์ 1]], หมวดรถหุ้มเกราะเบา และหมวดยานเกราะลาดตระเวน ฮิตเลอร์ประทับใจการสาธิตของกูเดเลี่ยนอย่างมาก ถึงกลับกล่าวว่า "นี่แหละสิ่งที่ฉันต้องการ นี่แหล่ะสิ่งที่ฉันอยากจะมี" ตั้งแต่นั้นมาการฝึกจู่โจมโดยหน่วยรถถังก็เริ่มขึ้นอย่างจริงจัง แม้ระยะแรกจะเป็นเพียงการใช้รถถังจำลองจากไม้ในการฝึกก็ตาม แต่ก็ถือเป็นนิมิตหมายที่ดี ในขณะที่อังกฤษและฝรั่งเศสยังคงมองรถถังและยานเกราะเป็นเพียงเครื่องมือสนับสนุนทหารราบเท่านั้น


ในช่วงเดือนมีนาคม ค.ศ. 1938 กูเดรีอันในยศพลโทเป็นหนึ่งในผู้บัญชาการในการส่งกำลังเข้า[[อันชลุส|ผนวกประเทศออสเตรีย]] กองพลยานเกราะที่ 2 ของเขาใช้เวลาไม่ถึง 48 ชั่วโมงกับระยะทาง 670 กิโลเมตรถึงกรุง[[เวียนนา]] ซึ่งในการเคลื่อนพลครั้งนี้ เขาพบจุดอ่อนของกองพลยานเกราะ นั่นคือการบำรุงรักษายุทโธปกรณ์มีไม่เพียงพอ โดยเฉพาะกับรถถัง ทำให้ต้องประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้องระหว่างเดินทาง นอกจากนี้ยังพบปัญหาด้านการส่งกำลังบำรุงโดยเฉพาะน้ำมัน ถือเป็นอุปสรรคใหญ่อีกข้อหนึ่ง เนื่องจากรถบรรทุกน้ำมันไม่สามารถตามขบวนยานเกราะได้ทัน ทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำมัน ภายหลังการผนวกออสเตรีย ฮิตเลอร์ตระหนักดีว่ากองพลยานเกราะมีความสำคัญเพียงใด ฮิตเลอร์ได้สั่งการให้จัดตั้งกองพลยานเกราะที่ 4 ขึ้นเพิ่มเติม พร้อมทั้งเตรียมการจัดตั้งกองพลยานเกราะที่ 5 และกองพลเบาที่ 4 ทำให้ขีดความสามารถของกองพลยานเกราะเยอรมันเพิ่มสูงขึ้นจนทิ้งห่างชาติอื่น ๆ อย่างขาดลอย
ในช่วงเดือนมีนาคม ค.ศ. 1938 กูเดเลี่ยนในยศพลโทเป็นหนึ่งในผู้บัญชาการในการส่งกำลังเข้า[[อันชลุส|ผนวกประเทศออสเตรีย]] กองพลยานเกราะที่ 2 ของเขาใช้เวลาไม่ถึง 48 ชั่วโมงกับระยะทาง 670 กิโลเมตรถึงกรุง[[เวียนนา]] ซึ่งในการเคลื่อนพลครั้งนี้ เขาพบจุดอ่อนของกองพลยานเกราะ นั่นคือการบำรุงรักษายุทโธปกรณ์มีไม่เพียงพอ โดยเฉพาะกับรถถัง ทำให้ต้องประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้องระหว่างเดินทาง นอกจากนี้ยังพบปัญหาด้านการส่งกำลังบำรุงโดยเฉพาะน้ำมัน ถือเป็นอุปสรรคใหญ่อีกข้อหนึ่ง เนื่องจากรถบรรทุกน้ำมันไม่สามารถตามขบวนยานเกราะได้ทัน ทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำมัน ภายหลังการผนวกออสเตรีย ฮิตเลอร์ตระหนักดีว่ากองพลยานเกราะมีความสำคัญเพียงใด ฮิตเลอร์ได้สั่งการให้จัดตั้งกองพลยานเกราะที่ 4 ขึ้นเพิ่มเติม พร้อมทั้งเตรียมการจัดตั้งกองพลยานเกราะที่ 5 และกองพลเบาที่ 4 ทำให้ขีดความสามารถของกองพลยานเกราะเยอรมันเพิ่มสูงขึ้นจนทิ้งห่างชาติอื่น ๆ อย่างขาดลอย


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:07, 16 กรกฎาคม 2562

ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดเลี่ยน
กูเดเลี่ยนที่แนวรบด้านตะวันออก เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1941
ชื่อเล่นไฮนทซ์สายฟ้าแลบ
เกิด17 มิถุนายน ค.ศ. 1888(1888-06-17)
คุล์ม ราชอาณาจักรปรัสเซีย จักรวรรดิเยอรมัน (ปัจจุบันอยู่ในโปแลนด์)
เสียชีวิต14 พฤษภาคม ค.ศ. 1954(1954-05-14) (65 ปี)
ชวังเกา รัฐบาวาเรีย เยอรมนีตะวันตก
รับใช้ เยอรมนี (ถึง 1918)
 เยอรมนี (ถึง 1933)
 ไรช์เยอรมัน
ประจำการค.ศ. 1907 – 1945
ชั้นยศ พลเอกอาวุโส ([Generaloberst] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))
การยุทธ์
บำเหน็จกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ก

ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดเลี่ยน(เยอรมัน: Heinz Wilhelm Guderian) เป็นพลเอกอาวุโสแห่งกองทัพบกเยอรมันในสมัยนาซีเยอรมนี เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ[ต้องการอ้างอิง] และมีสมญาว่า ไฮนทซ์สายฟ้าแลบ ([Schneller Heinz] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (บลิทซ์ครีค) ที่ทำให้สามารถเข้ายึดโปแลนด์ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้ฝรั่งเศสยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่แม่น้ำเมิซและเป็นผู้สร้างรถถังที่มีชื่อเสียง เช่น รถถังพันเทอร์, รถถังทีเกอร์ 2 เป็นต้น

หน่วยของกูเดเลี่ยนยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 เขาอยู่ในการควบคุมตัวของสหรัฐในฐานะจำเลยอาชญากรสงคราม เขาถูกสอบสวนแต่ก็ไม่ถูกตั้งข้อหาหรือความผิดใด ๆ เขาได้รับการปล่อยตัวในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1948 เขามักถูกรับเชิญจากกลุ่มทหารผ่านศึกชาวอังกฤษ ซึ่งเขาร่วมแบ่งปันประสบการณ์และวิเคราะห์สนามรบในอดีตกับบรรดาอดีตศัตรู นอกจากนี้ยังได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาในการก่อตั้งกองทัพของเยอรมนีตะวันตกด้วย

ประวัติ

ไฮนทซ์ วิลเฮ็ล์ม กูเดเลี่่ยน เกิดที่เมืองคุล์ม ราชอาณาจักรปรัสเซีย จักรวรรดิเยอรมัน เขาเกิดในครอบครัวมีอันจะกิน เป็นบุตรของร้อยโท ฟรีดริช กูเดเลี่ยน (Friedrich Guderian) กับนางคลารา เคียร์ชฮ็อฟ (Clara Kirchhoff)[1] ใน ค.ศ. 1901 เขาเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยคาลส์รูเออ ก่อนที่จะย้ายมายังโรงเรียนนายร้อยโกรส-ลิชเทอร์เฟ็ลเดอ (Groß-Lichterfelde) ใกล้กับกรุงเบอร์ลิน

เข้ารับราชการทหาร

เมื่อเขาสำเร็จการศึกษานายร้อยในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1907 เขาก็ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการทหารจักรวรรดิเยอรมัน ที่กองพันทหารราบเบาที่ 10 แห่งฮันโนเฟอร์ ซึ่งเป็นกองพันที่บิดาของเขาเป็นผู้บังคับกองพัน ใน ค.ศ. 1908 เขาก็ได้รับการประดับยศร้อยตรี ต่อมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขาถูกส่งไปปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันชายแดนด้านตะวันออกของจักรวรรดิเยอรมัน ตั้งแต่ไซลีเซียไปจนถึงทะเลบอลติก เขามีความคิดเหมือนกับทหารหลาย ๆ คนว่าเยอรมนีไม่ควรลงนามในสัญญาสงบศึก ค.ศ. 1918 เขาคิดว่าจักรวรรดิเยอรมันควรสู้ต่อ[2]

หลังสงคราม เขาเป็นหนึ่งในทหารสี่พันคนที่ยังคงได้รับราชการต่อในกองทัพเยอรมันที่ถูกลดขนาดลง เขาไปประจำการยังชายแดนด้านตะวันออกของประเทศเป็นเวลาห้าเดือนเพื่อรับมือความวุ่นวายจากสงครามกลางเมืองรัสเซีย[3] ก่อนที่จะถูกส่งไปปฏิบัติหน้าที่ในกองพลน้อยที่ 10 แห่งไรชส์แวร์ ในเมืองฮันโนเฟอร์เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ก่อนที่ใน ค.ศ. 1920 เขาจะได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นผู้บังคับการกองพันทหารราบเบาที่ 10 แห่งฮันโนเฟอร์ ต่อมาใน ค.ศ. 1922 เขาได้รับการทาบทามให้เป็นนายทหารฝ่ายเสนาธิการ โดยได้รับมอบหมายหน้าที่ตรวจสอบการลำเลียงกำลังพลประจำกองพันยานยนต์ขนส่งที่ 7 แห่งบาวาเรีย ในนครมิวนิก ภายใต้สังกัดกรมยานยนต์ขนส่ง

ผู้เชี่ยวชาญยานเกราะ

กูเดเลี่ยนขณะตรวจจถถังทีเกอร์ 1 ในปี 1943

ด้วยหน้าที่นี้เอง ที่ทำให้เขาได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้าด้านยานยนต์และยานเกราะ หนังสือที่เขาศึกษาส่วนมากเป็นหนังสือที่เขียนโดยร้อยเอก ลิดเดิลล์ ฮาร์ต (Liddell Hart) ทหารอังกฤษผู้มากประสบการณ์ด้านยานเกราะ ร้อยเอก ฮาร์ต ให้ความสำคัญกับการใช้กำลังรถถังและยานเกราะในการรบระยะไกล รวมทั้งได้เสนอแนวคิดการรุกแบบประสานงานระหว่างยานเกราะและทหารราบ ซึ่งในยุคนั้น ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนารถถังและยานเกราะยังถือเป็นเรื่องใหม่สำหรับกองทัพเยอรมัน การค้นคว้าอย่างจริงจังของกูเดเลี่ยนทำให้เขากลายเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ไปโดยปริยาย บทความด้านยานเกราะของเขาได้รับการตีพิมพ์ในวารสารกองทัพเป็นประจำ ซึ่งได้ทำให้ชื่อของเขาเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น

ในช่วง ค.ศ. 1923–1924 พันโท วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์ ได้จำลองการรบที่มีการประสานงานกันระหว่างรถถัง ยานเกราะ ทหารราบ และอากาศยาน การฝึกนี้เป็นที่สนใจของกรมการฝึกกองทัพบกอย่างมาก กูเดรีอันได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ฝึกสอนด้านยุทธวิธีและประวัติศาสตร์การทหาร ทำหน้าที่เผยแพร่การรบแบบใหม่ให้แก่หน่วยทหารต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนยุทธวิธีให้กับกองรถถัง ถือเป็นครั้งแรกที่เขามีโอกาสได้เห็นรถถังอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะเครื่องไม้เครื่องมือภายในรถถัง เกิดเป็นแนวความคิดที่ว่า :

การใช้รถถังรบอย่างเพียงลำพังหรือรบพร้อมทหารราบนั้น จะประสบความสำเร็จได้ยากยิ่ง จุดเด่นที่รถถังควรมีในการรบสมัยใหม่คือความเร็ว และสามารถเคลื่อนผ่านภูมิประเทศที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี การรุกด้วยรถถังจำเป็นต้องมียุทโธปกรณ์อื่น ๆ คอยสนับสนุน รถถังทำหน้าที่ในการรุก และยุทโธปกรณ์อื่น ๆ ทำหน้าที่รองลงไป

กองทัพเยอรมันตอบรับแนวคิดของเขาเป็นอย่างดี โดยเฉพาะการจัดตั้งกองพลยานเกราะ แม้จะมีนายพลหัวเก่าบางคนที่ยังคงมองว่าแนวคิดของเขาเป็นเรื่องเพ้อฝัน กูเดรีอันก็ยังคงมุ่งเสนอความคิดที่จะทำการรบโดยใช้รถถังและยานเกราะในแบบฉบับของเขา

สมัยนาซี

กูเดเลี่ยนระหว่างเดินทางไปแนวรบด้านตะวันออก ค.ศ. 1943

ใน ค.ศ. 1933 เมื่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ขึ้นดำรงตำแหน่งฟือเรอร์ กูเดเลี่ยนได้มีโอกาสฟังสุนทรพจน์ของฮิตเลอร์ในงานแสดงรถยนต์ในกรุงเบอร์ลิน เขามีความประทับใจมากที่ฮิตเลอร์ประกาศว่าจะยกเลิกภาษีรถยนต์ และสร้างทางหลวงเอาโทบาน รวมทั้งจะสร้างรถยนต์ราคาย่อมเยาสำหรับประชาชน นั่นคือรถฟ็อลคส์วาเกิน นอกจากนี้ ฮิตเลอร์ยังแต่งตั้งพลเอก แวร์เนอร์ ฟ็อน บล็อมแบร์ค เป็นรัฐมนตรีว่าการสงคราม บล็อมแบร์คเป็นบุคคลที่มีหัวสมัยใหม่ ตรงกับแนวทางการพัฒนาการรบโดยใช้รถถังเป็นหลักของกูเดรีอัน นอกจากนั้น ฮิตเลอร์ซึ่งเป็นทหารเก่าก็สนใจเรื่องการเคลื่อนย้ายกำลังพลและการใช้ยานเกราะในการรบอยู่มากพอควร ในห้วงเวลานี้เองที่เยอรมันได้ร่วมกับสหภาพโซเวียตทำการพัฒนารถถังอย่างลับ ๆ ในดินแดนของโซเวียต

ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1933 กูเดเลี่ยนได้รับการเลื่อนยศเป็นพันเอก และสองเดือนต่อมาได้รับตำแหน่งเป็นเสนาธิการกองบัญชาการทหารยานเกราะ และมีโอกาสได้นำเสนออาวุธยุทโธปกรณ์ที่เยอรมันพัฒนาขึ้นต่อฮิตเลอร์เป็นครั้งแรก เขาได้สาธิตการเข้าตีของหมวดจักรยานยนต์, หมวดต่อสู้รถถัง, หมวดรถถังพันท์เซอร์ 1, หมวดรถหุ้มเกราะเบา และหมวดยานเกราะลาดตระเวน ฮิตเลอร์ประทับใจการสาธิตของกูเดเลี่ยนอย่างมาก ถึงกลับกล่าวว่า "นี่แหละสิ่งที่ฉันต้องการ นี่แหล่ะสิ่งที่ฉันอยากจะมี" ตั้งแต่นั้นมาการฝึกจู่โจมโดยหน่วยรถถังก็เริ่มขึ้นอย่างจริงจัง แม้ระยะแรกจะเป็นเพียงการใช้รถถังจำลองจากไม้ในการฝึกก็ตาม แต่ก็ถือเป็นนิมิตหมายที่ดี ในขณะที่อังกฤษและฝรั่งเศสยังคงมองรถถังและยานเกราะเป็นเพียงเครื่องมือสนับสนุนทหารราบเท่านั้น

ในช่วงเดือนมีนาคม ค.ศ. 1938 กูเดเลี่ยนในยศพลโทเป็นหนึ่งในผู้บัญชาการในการส่งกำลังเข้าผนวกประเทศออสเตรีย กองพลยานเกราะที่ 2 ของเขาใช้เวลาไม่ถึง 48 ชั่วโมงกับระยะทาง 670 กิโลเมตรถึงกรุงเวียนนา ซึ่งในการเคลื่อนพลครั้งนี้ เขาพบจุดอ่อนของกองพลยานเกราะ นั่นคือการบำรุงรักษายุทโธปกรณ์มีไม่เพียงพอ โดยเฉพาะกับรถถัง ทำให้ต้องประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้องระหว่างเดินทาง นอกจากนี้ยังพบปัญหาด้านการส่งกำลังบำรุงโดยเฉพาะน้ำมัน ถือเป็นอุปสรรคใหญ่อีกข้อหนึ่ง เนื่องจากรถบรรทุกน้ำมันไม่สามารถตามขบวนยานเกราะได้ทัน ทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำมัน ภายหลังการผนวกออสเตรีย ฮิตเลอร์ตระหนักดีว่ากองพลยานเกราะมีความสำคัญเพียงใด ฮิตเลอร์ได้สั่งการให้จัดตั้งกองพลยานเกราะที่ 4 ขึ้นเพิ่มเติม พร้อมทั้งเตรียมการจัดตั้งกองพลยานเกราะที่ 5 และกองพลเบาที่ 4 ทำให้ขีดความสามารถของกองพลยานเกราะเยอรมันเพิ่มสูงขึ้นจนทิ้งห่างชาติอื่น ๆ อย่างขาดลอย

อ้างอิง

  1. Frank N. Magill (5 March 2014). The 20th Century Go-N: Dictionary of World Biography. Routledge. pp. 1490–. ISBN 978-1-317-74060-5.
  2. Hargreaves 2009, p. 29.
  3. Hart 2006, p. 16.
ก่อนหน้า ไฮนทซ์ กูเดรีอัน ถัดไป
อาด็อล์ฟ ฮ็อยซิงเงอร์ เสนาธิการกองทัพบก
(กรกฎาคม ค.ศ. 1944 – มีนาคม ค.ศ. 1945)
ฮันส์ เครพส์|}