ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นุศรา ต้อมคำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล วอลเลย์บอล
{{กล่องข้อมูลนักวอลเลย์บอล
| name = นุศรา ต้อมคำ
| รูป = [[ไฟล์:Nootsara Tomkom.jpg|250px]]
| image = [[file:Nootsara Tomkom.jpg|250px]]
| ชื่อ = นุศรา
| นามสกุล = ต้อมคำ
| fullname = นุศรา ต้อมคำ
| ชื่อเล่น = นุช, ซาร่า
| nickname = นุช,ซาร่า (ในทีมเรียก "เจ่เจ๊")
| วันเกิด = {{วันเกิดและอายุ|2528|7|7}}
| birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2528|7|7}}
| จังหวัด = {{flagicon|THA}} [[จังหวัดราชบุรี]]
| birth_place = [[ราชบุรี]] [[ประเทศไทย]]
| height = 1.69 เมตร
| ประเทศ = [[ประเทศไทย]]
| weight = {{convert|57|kg|lb|abbr=on}}
| สูง = 169
| spike = 289 ซม.
| หนัก = 57
| กระโดดตบ = 289 ซม.
| block = 278 ซม.
| position = ตัวเซต
| กระโดดบล็อก = 278 ซม.
| currentnumber = 13
| การศึกษา = [[มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต]]
| nationalyears = พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน
| ตำแหน่ง = ตัวเซต
| nationalteam = {{flagicon|THA}} [[วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย|ไทย]]
| รูปแบบการเล่น = ตัวเซต
| web_site = [http://nootsara13.com/ nootsara13.com]
| ปัจจุบันเล่นให้กับ = {{flagicon|TUR}} [[เฟแนร์บาห์แช]]
| ติดทีมชาติเมื่อ = พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน
| เว็บ = [http://nootsara13.com/ nootsara13.com]
| เพิ่มเติม =
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:23, 19 สิงหาคม 2560

นุศรา ต้อมคำ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อเต็มนุศรา ต้อมคำ
ชื่อเล่นนุช,ซาร่า (ในทีมเรียก "เจ่เจ๊")
เกิด7 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 (39 ปี)
ราชบุรี ประเทศไทย
ส่วนสูง1.69 เมตร (5 ฟุต 7 นิ้ว)
น้ำหนัก57 kg (126 lb)
กระโดดตบ289 ซม.
บล็อก278 ซม.
ข้อมูล
ตำแหน่งตัวเซต
หมายเลข13
ทีมชาติ
พ.ศ. 2545 - ปัจจุบันไทย ไทย

นุศรา ต้อมคำ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 — ) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ตำแหน่งตัวเซต และเป็นหนึ่งในนักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยที่ได้เล่นวอลเลย์บอลหญิงอาชีพในต่างประเทศ โดยได้ไปแข่งขันในระดับโลกหลายรายการ อาทิ เวิลด์กรังด์ปรีซ์ เวิลด์แชมเปี้ยนชิพ เวิลด์คัพ

ประวัติ

นุศรา ต้อมคำ เกิดที่อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของนายฉลวย และนางประนอม ต้อมคำ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เริ่มเล่นวอลเลย์บอลตั้งแต่อายุ 10 ปี ขณะเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษา ที่จังหวัดราชบุรี ตาม นิตยา ต้อมคำ ซึ่งเป็นพี่สาวที่เล่นวอลเลย์บอลอยู่แล้ว โดยเมื่อเลิกเรียนจะรอพี่สาวเล่นวอลเลย์บอลเสร็จ จึงจะกลับบ้านพร้อมกัน โค้ชคนแรกจึงหัดให้เริ่มต้นวอลเลย์บอลนับแต่นั้น[1]

นุศรา ถือเป็นตัวเซตที่สร้างประวัติศาสตร์ให้แก่ทีมชาติไทยอีกคนหนึ่งนอกเหนือจากปริม อินทวงษ์ ซึ่งเป็นตัวเซตที่สร้างประวัติศาสตร์คนแรกของประเทศ นอกจากนี้ นุศรายังเป็นบุคคลต้นแบบของฮะรุกะ มิยะชิตะ ซึ่งเป็นนักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น[2]

ปัจจุบัน นุศรา ทำงานเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ ตำแหน่งนักบริหารงานทั่วไป กองประมวลผลงานและกิจการสัมพันธ์ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

ผลงาน

  • แชมป์ปริ๊นเซส คัพ แสงโสมวีเม่น วอลเลย์บอล อินวิเตชัน ครั้งที่ 13 (พ.ศ. 2549) ที่ประเทศไทย คว้าอันดับ 1 ได้ในรอบ 24 ปี โดยเอาชนะเวียดนามได้ 3 - 0 เซต
  • อันดับ 10 (จาก 12 ทีม) ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์คัพ 2007 ที่ประเทศญี่ปุ่น
  • พ.ศ. 2551 อันดับ 3 การแข่งขันเอเชียนคัพ ครั้งที่ 1 ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย

เข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์แกรนด์แชมเปี้ยนคัพ

  • พ.ศ. 2552 (อันดับ 6) ประเทศไทยในฐานะแชมป์ทวีปเอเชีย
  • พ.ศ. 2556 (อันดับ 5) ประเทศไทยในฐานะแชมป์ทวีปเอเชีย

เข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

  • พ.ศ. 2553 (ผ่านเข้ารอบสุดท้าย) ประเทศญี่ปุ่น
  • พ.ศ. 2545 (อันดับ 18) ประเทศเยอรมนี

เข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  • พ.ศ. 2559 (อันดับ 6)
  • พ.ศ. 2558 (อันดับ 9)
  • พ.ศ. 2557 (อันดับ 12)
  • พ.ศ. 2556 (อันดับ 13)
  • พ.ศ. 2555 (อันดับ 4)
  • พ.ศ. 2554 (อันดับ 6)
  • พ.ศ. 2552 (อันดับ 8)
  • พ.ศ. 2551 (อันดับ 11)
  • พ.ศ. 2549 (อันดับ 11)
  • พ.ศ. 2548 (อันดับ 12)
  • พ.ศ. 2547 (อันดับ 10)
  • พ.ศ. 2546 (อันดับ 9)
  • พ.ศ. 2545 (อันดับ 8)

เข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย

  • พ.ศ. 2560
  • พ.ศ. 2558 (อันดับ 3)
  • พ.ศ. 2556 (อันดับ 1)
  • พ.ศ. 2554 (อันดับ 4)
  • พ.ศ. 2552 (อันดับ 1)
  • พ.ศ. 2550 (อันดับ 3)
  • พ.ศ. 2548 (อันดับ 6)
  • พ.ศ. 2546 (อันดับ 4)
  • พ.ศ. 2544 (อันดับ 3)

เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก

  • ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2550 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (อันดับ 4)

พ.ศ. 2552 เล่นอาชีพในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (สโมสรคันทีชัฟเฟาเซน)

พ.ศ. 2555-2556 เล่นอาชีพในประเทศอาเซอร์ไบจาน (สโมสรอิกติซาดชิ บากู)

พ.ศ. 2556 ปัจจุบัน ร่วมเข้าสู่การแข่งระดับอาชีพในประเทศอาเซอร์ไบจาน (สโมสรราบิตา บากู)

พ.ศ. 2558 นุศรา ต้อมคำ และ วรรณา บัวแก้ว เล่นลีกอาชีพที่ประเทศอาเซอร์ไบจานอีกครั้ง ในทีม อาเซอร์เรล บากู [3][4]

เข้าร่วมการแข่งขันเอเชียนเกมส์

  • พ.ศ. 2557 เหรียญทองแดง เอเชียนเกมส์ 2014 ที่ประเทศเกาหลีใต้

รางวัลที่ได้รับ

  • พ.ศ. 2550 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2550 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2551 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2552 เสริฟยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2552 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2553 เซตยอดเยี่ยม 2010 จากการเปิดให้โหวตของเว็บไซต์ www.volleywood.net
  • พ.ศ. 2553 ผู้เล่นทรงคุณค่า ในการแข่งขันวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2553 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก
  • พ.ศ. 2553 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันลีกวอลเลย์บอลอาชีพ อาเซอร์ไบจานซูเปอร์ลีก 2010-11
  • พ.ศ. 2554 เสริฟยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2555 เสริฟยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย
  • พ.ศ. 2555 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2012
  • พ.ศ. 2555 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเอเชียนคัพ 2012
  • พ.ศ. 2556 วอลเลย์บอลโกลบ 2012 - ตำแหน่งเซตยอดเยี่ยม จากการการเปิดโหวตของเว็บไซต์ www.volleyball.it
  • พ.ศ. 2556 "นักกีฬาอาชีพยอดเยี่ยม" สยามกีฬาอะวอร์ด 2012
  • พ.ศ. 2556 ติดอันดับ 1 ตำแหน่งมือเซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2013 รอบแรก[5]
  • พ.ศ. 2556 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2013 [6]
  • พ.ศ. 2557 - รางวัลนักกีฬาดีเด่น (วอลเลย์บอล) สยามกีฬาอวอร์ดส์ ครั้งที่ 8 [7][8]
  • พ.ศ. 2557 เซตยอดเยี่ยม ศึกชิงแชมป์สโมสรยุโรป
  • พ.ศ. 2557 นักกีฬาหญิงที่แฟนกีฬาชื่นชอบมากที่สุด อันดับที่ 2 (ร้อยละ 24.03) โดยสวนดุสิตโพล[9]
  • พ.ศ. 2558 ติดอันดับ 1 ตำแหน่งมือเซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015
  • พ.ศ. 2559 เซตยอดเยี่ยม มงเทรอวอลลีย์แมสเตอส์ 2016
  • พ.ศ. 2559 เซตยอดเยี่ยม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2016

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. สู้สุดใจ ไทยแลนด์, สารคดีทางไทยพีบีเอส: พฤหัสบดีที่ 26 กันยายน 2556
  2. "ฮารุกะ มิยาชิตะ"เซตเตอร์สาวดาวรุ่งญี่ปุ่น เผยยึด"นุศรา ต้อมคำ"เป็นไอดอล
  3. "ลูกยางสาวไทย" เดินสายออกทีวี - เดลินิวส์
  4. ทีมตบสาวไหว้ย่าโม-ได้อัดฉีดแล้ว 10 ล.
  5. 'นุศรา' ซิวอันดับ 1 มือเซตยอดเยี่ยมเวิลด์กรังด์ปรีซ์ - ข่าวไทยรัฐออนไลน์
  6. "วิลาวัณย์"คว้าเอ็มวีพี"นุศรา"ซิวเซตเตอร์ยอดเยี่ยม วอลเลย์บอลหญิงเอเชีย"17 สืบข้นข้อมูลเมื่อ 22 กันยายน พ.ศ. 2556
  7. สยามกีฬาอวอร์ดส์จัดยิ่งใหญ่ มิ้ว,เมย์ ซิวนักกีฬาสมัครเล่น : SMMOnline.net
  8. จิระพงศ์-รัชนกซิวนักกีฬายอดเยี่ยมสยามกีฬาฯ - Sport - Manager Online
  9. "ชัปปุยส์-ปลื้มจิตร์ ครองใจแฟนกีฬาปี 57". สยามกีฬา. 30 ธันวาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ให้แก่นักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยและเจ้าหน้าที่ เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒๒ ข ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖ หน้า ๑
  11. 20 นักตบปลื้มรับเครื่องราชฯทำคุณประโยชน์ด้านกีฬา

แหล่งข้อมูลอื่น