ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกออร์ค วิททิช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
+ 6 หมวดหมู่ด้วยฮอทแคต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก2}}
{{Infobox scientist
{{กล่องข้อมูล นักแสดง
| name = เกออร์ค วิททิช
| name = เอกสิทธิ์ สุวรรณวัฒน์
| image =
| birth_date = {{birth date|mf=yes|1897|6|16}}
| image =
| imagesize =
| birth_place = [[เบอร์ลิน]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]]
| caption =
| death_date = {{death date and age|mf=yes|1987|8|26|1897|6|16}}
| birthname = เอกสิทธิ์ สุวรรณวัฒน์
| death_place = [[ไฮเดิลแบร์ค]] [[เยอรมนีตะวันตก]]
| nationality = เยอรมัน
| nickname = อั๋น
| birthdate = {{วันเกิด-อายุ|2516|8|30}}
| field = [[เคมี]]
| birth_place = [[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[ประเทศไทย]]
| work_institution = [[มหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค]]<br>[[มหาวิทยาลัยเทคนิคเบราน์ชไวค์]]<br>[[มหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค]]<br>[[มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน]]<br>[[มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์ค]]
| location =
| alma_mater = [[มหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค]]
| deathdate =
| doctoral_advisor = [[คาร์ล ฟ็อน เอาเวิร์ส]]
| deathplace =
| doctoral_students = [[แวร์เนอร์ ท็อคเทอร์มัน]]
| religion =
| known_for = [[ปฏิกิริยาวิททิช]]<br>[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิช]]<br>[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิช]]<br>[[โพแทสเซียมเตตระฟีนิลบอเรต]]
| spouse =
| prizes = [[รางวัลอ็อทโท ฮาน]]<br><small>(ค.ศ. 1967)</small><br>[[เหรียญทองเพาล์ คาเรอร์]] <small>(ค.ศ. 1972)</small><br>[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]<br><small>(ค.ศ. 1979)</small>
| footnotes =
| domesticpartner =
| children =
| othername =
| occupation = นักแสดง
| yearsactive = 2540 - ปัจจุบัน
| notable role =
| เครื่องดนตรี =
| แนวเพลง =
| ค่าย =
| ส่วนเกี่ยวข้อง =
| homepage =
| academyawards =
| emmyawards =
| tonyawards =
| goldenglobeawards =
| baftaawards =
| cesarawards =
| goyaawards =
| afiawards =
| filmfareawards =
| olivierawards =
| grammyawards =
| ศิลปินแห่งชาติ =
| ตุ๊กตาทอง =
| สุพรรณหงส์ =
| ชมรมวิจารณ์บันเทิง =
| คมชัดลึก อวอร์ด =
| สตาร์พิคส์ อวอร์ด =
| โทรทัศน์ทองคำ =
| เมขลา =
| นาฏราช =
| เทพทอง =
| imdb_id =
| thaifilmdb_id =
| website =
|ส่วนสูง = 189 เซนติเมตร
}}
}}


'''เอกสิทธิ์ สุวรรณวัฒน์''' ชื่อเล่น '''อั๋น''' เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2516 เกิดที่[[จังหวัดบุรีรัมย์]] เป็นนักแสดงภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ชาวไทย
'''เกออร์ค วิททิช''' ({{lang-de|Georg Wittig}}; 16 มิถุนายน ค.ศ. 1897 – 26 สิงหาคม ค.ศ. 1987) เป็น[[นักเคมี]][[ชาวเยอรมัน]] เป็นผู้ค้นพบ[[ปฏิกิริยาวิททิช]] ซึ่งเป็น[[การสังเคราะห์อินทรีย์]]เพื่อเตรียม[[แอลคีน]] รวมถึงค้นพบ[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิช]] [[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิช]] และการเตรียม[[ฟีนิลลิเทียม]] วิททิชได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]ร่วมกับ[[เฮอร์เบิร์ต ซี. บราวน์]] ในปี ค.ศ. 1979<ref>[http://www.nobelprize.org/nobel_prizes/chemistry/laureates/1979/ About the Nobel Prize in Chemistry 1979 - Nobelprize.org]</ref>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:09, 5 พฤษภาคม 2565

เอกสิทธิ์ สุวรรณวัฒน์
เกิด30 สิงหาคม พ.ศ. 2516 (50 ปี)
เอกสิทธิ์ สุวรรณวัฒน์
จังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย
ส่วนสูง189 เซนติเมตร
อาชีพนักแสดง
ปีที่แสดง2540 - ปัจจุบัน

เอกสิทธิ์ สุวรรณวัฒน์ ชื่อเล่น อั๋น เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2516 เกิดที่จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นนักแสดงภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ชาวไทย

ประวัติ

เกออร์ วิททิชเกิดที่กรุงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1897 ต่อมาครอบครัวของเขาย้ายไปอยู่ที่เมืองคัสเซิล วิททิชเรียนเคมีที่มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน เขาได้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและถูกกองทัพอังกฤษจับตัว[1] หลังถูกปล่อยตัว วิททิชกลับมาเรียนต่อจนจบด้านเคมีอินทรีย์ เขาเริ่มทำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์ตามคำแนะนำของคาร์ล ฟ็อน เอาเวิร์ส และได้งานเป็นอาจารย์สอนที่มหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค ในปี ค.ศ. 1930 วิททิชแต่งงานกับวัลเทราท์ แอ็นสท์[2] ต่อมาวิททิชได้รับคำเชิญจากคาร์ล เทโอฟีล ฟรีส ให้มาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเทคนิคเบราน์ชไวค์ หลังถูกนาซีกดดันอย่างหนัก วิททิชเดินทางไปมหาวิทยาลัยไฟรบวร์คตามคำเชิญของแฮร์มัน ชเตาดิงเงอร์[3]

ในปี ค.ศ. 1944 วิททิชดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยทือบิงเงิน ในช่วงที่ทำงานที่นี่ วิททิชได้คิดค้นปฏิกิริยาวิททิช ต่อมาเขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ที่มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์คจนกระทั่งเกษียณในปี ค.ศ. 1967[4] และได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปี ค.ศ. 1979

วิททิชยังคงตีพิมพ์บทความวิชาการถึงปี ค.ศ. 1980 เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1987[5]

อ้างอิง