ข้ามไปเนื้อหา

ถั่วหัวช้าง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ถั่วลูกไก่)
ถั่วหัวช้าง
ถั่วหัวช้างขาวและเขียว
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Fabales
วงศ์: Fabaceae
สกุล: Cicer
สปีชีส์: C.  arietinum
ชื่อทวินาม
Cicer arietinum
L.

ถั่วหัวช้าง หรือ ถั่วลูกไก่ (อังกฤษ: chickpea; ชื่อวิทยาศาสตร์: Cicer arietinum) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว เมล็ดมีโปรตีนสูง เป็นถั่วที่ปลูกในตะวันออกกลางมานานราว 7,500 ปีมาแล้ว[1]

ถั่วหัวช้างเป็นถั่วที่มีบทบาทสำคัญในอาหารเมดิเตอร์เรเนียน อาหารตะวันออกกลาง และอาหารอินเดีย มีสองชนิดคือ กาบูลี เมล็ดใหญ่ สีครีมนวล เปลือกเรียบ และแบบเดซี ขนาดเล็กกว่า สีเข้ม เปลือกขรุขระกว่า ทั้งสองแบบเมล็ดเป็นทรงกลม มีจะงอยแหลม ใช้ทำอาหารได้หลายอย่างเช่น บดละเอียดทำฮุมมุส บดหยาบผสมเครื่องปรุงแล้วทอดเรียก ฟาลาเฟล ใส่ในแกง สลัด ผัดหรือทอดกับเนื้อสัตว์[2]

ถั่วหัวช้าง เมล็ดแก่ ปรุงสุกโดยไม่ใส่เกลือ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน686 กิโลจูล (164 กิโลแคลอรี)
27.42 g
น้ำตาล4.8 g
ใยอาหาร7.6 g
2.59 g
อิ่มตัว0.269 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว0.583 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่1.156 g
8.86 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(0%)
1 μg
ไทอามีน (บี1)
(10%)
0.116 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(5%)
0.063 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(4%)
0.526 มก.
(6%)
0.286 มก.
วิตามินบี6
(11%)
0.139 มก.
โฟเลต (บี9)
(43%)
172 μg
วิตามินบี12
(0%)
0 μg
วิตามินซี
(2%)
1.3 มก.
วิตามินอี
(2%)
0.35 มก.
วิตามินเค
(4%)
4 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(5%)
49 มก.
เหล็ก
(22%)
2.89 มก.
แมกนีเซียม
(14%)
48 มก.
ฟอสฟอรัส
(24%)
168 มก.
โพแทสเซียม
(6%)
291 มก.
โซเดียม
(0%)
7 มก.
สังกะสี
(16%)
1.53 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ60.21 g
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central
Cicer arietinum noir

อ้างอิง

[แก้]
  1. Philologos (October 21, 2005). "Chickpeas — On Language". Jewish Daily Forward. สืบค้นเมื่อ 2009-03-28.
  2. กานต์ เหมวิหค. "ถั่วชิกพี." ครัว. ปีที่ 19 ฉบับที่ 227. พฤษภาคม 2556, หน้า 32-34.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]