ชาตียสังสัท
ชาตียสังสัท | |
---|---|
ชาตียสังสัท ชุดที่ 11 | |
![]() ธงชาตียสังสัท | |
ประเภท | |
ประเภท | |
จำกัดวาระ | 5 ปี |
ประวัติ | |
ก่อตั้ง | 7 มีนาคม พ.ศ. 2516 |
ก่อนหน้า | สภาร่างรัฐธรรมนูญบังกลาเทศ |
สมัยประชุมใหม่ | 30 มกราคม พ.ศ. 2562 (ปฏิญาณตนเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2562) |
ผู้บริหาร | |
รองประธานรัฐสภา | |
รองผู้นำฝ่ายรัฐบาล | Matia Chowdhury, AL ตั้งแต่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 |
รองผู้นำฝ่ายค้าน | |
โครงสร้าง | |
สมาชิก | 350 |
![]() | |
กลุ่มการเมือง | ฝ่ายรัฐบาล (1)
ฝ่ายค้าน (7) อื่น ๆ (1)
|
การเลือกตั้ง | |
300 ที่นั่งจากระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด, อีก 50 ที่นั่งสงวนไว้สำหรับผู้หญิง โดยได้รับการจัดสรรตามสัดส่วนของสมาชิกพรรคที่ได้รับการเลือกตั้ง | |
การเลือกตั้งครั้งล่าสุด | 30 ธันวาคม พ.ศ. 2561 |
การเลือกตั้งครั้งหน้า | มกราคม พ.ศ. 2567 |
ที่ประชุม | |
![]() | |
ชาตียสังสัทภพัน เชเรบังลานอกอร์ ธากา บังกลาเทศ | |
เว็บไซต์ | |
parliament.gov.bd |
ชาตียสังสัท (เบงกอล: জাতীয় সংসদ; แปลว่า รัฐสภาแห่งชาติ) เป็นสภานิติบัญญัติสูงสุดของประเทศบังกลาเทศ มี 350 ที่นั่ง[1] 50 ที่นั่งในจำนวนนี้ได้รับการสงวนไว้สำหรับผู้หญิงโดยเฉพาะ ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งเข้าสู่ชาตียสังสัทเรียกว่าสมาชิกสังสัท การเลือกตั้งสมาชิกสังสัทจะจัดขึ้นทุก ๆ 5 ปี เว้นแต่ว่าประธานาธิบดีจะยุบสภาล่วงหน้า[2] การเลือกตั้งชาตียสังสัท ชุดที่ 11 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งครั้งล่าสุดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2561
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Name and Composition of Parliament". Bangladesh Parliament.
- ↑ "New MPs take oath". The Daily Star. 9 January 2014.
![]() |
บทความเกี่ยวกับการเมือง การปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |