สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสกลนคร
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต7
คะแนนเสียง238,655 (เพื่อไทย)
70,213 (ประชาธิปัตย์)
47,137 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (5)
ประชาธิปัตย์ (1)
พลังประชารัฐ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดสกลนคร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 7 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสกลนครมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงวรนิติปรีชา (วรดี พรหมสาขา ณ สกลนคร)

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ และกิ่งอำเภอส่องดาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน และอำเภอกุดบาก
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, กิ่งอำเภอส่องดาว และกิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน และอำเภอกุดบาก
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และกิ่งอำเภอเต่างอย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอส่องดาว และกิ่งอำเภอคำตากล้า
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน, กิ่งอำเภอเต่างอย และกิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอส่องดาว และอำเภอคำตากล้า
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, กิ่งอำเภอเต่างอย และกิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า และกิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน
6 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, กิ่งอำเภอเต่างอย และกิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และกิ่งอำเภอเจริญศิลป์
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, กิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ และกิ่งอำเภอโพนนาแก้ว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และกิ่งอำเภอเจริญศิลป์
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, อำเภอโคกศรีสุพรรณ และกิ่งอำเภอโพนนาแก้ว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และกิ่งอำเภอเจริญศิลป์
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, กิ่งอำเภอโพนนาแก้ว และกิ่งอำเภอภูพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพังโคน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอคำตากล้า และอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอส่องดาว และอำเภอเจริญศิลป์
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร (ยกเว้นตำบลโคกก่อง ตำบลม่วงลาย ตำบลดงชน และตำบลเหล่าปอแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอเต่างอย และอำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลโคกก่อง ตำบลม่วงลาย ตำบลดงชน และตำบลเหล่าปอแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอภูพาน, อำเภอกุดบาก, อำเภอพรรณานิคม (ยกเว้นตำบลช้างมิ่ง) และอำเภออากาศอำนวย (เฉพาะตำบลโพนแพงและตำบลบะหว้า)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนิคมน้ำอูน, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภอส่องดาว, อำเภอพังโคน และอำเภอพรรณานิคม (เฉพาะตำบลช้างมิ่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสว่างแดนดินและอำเภอเจริญศิลป์ (เฉพาะตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอวานรนิวาสและอำเภอเจริญศิลป์ (ยกเว้นตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า และอำเภออากาศอำนวย (ยกเว้นตำบลโพนแพงและตำบลบะหว้า)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอโพนนาแก้ว และอำเภอภูพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพังโคน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย และอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า, อำเภอส่องดาว และอำเภอเจริญศิลป์
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร (ยกเว้นตำบลเหล่าปอแดง ตำบลโคกก่อง ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย และตำบลโนนหอม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอเต่างอย และอำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลเหล่าปอแดง ตำบลโคกก่อง ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย และตำบลโนนหอม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอภูพาน, อำเภอกุดบาก, อำเภอพรรณานิคม และอำเภออากาศอำนวย (เฉพาะตำบลบะหว้าและตำบลโพนแพง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพังโคน, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภอส่องดาว และอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสว่างแดนดินและอำเภอเจริญศิลป์ (เฉพาะตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอวานรนิวาส และอำเภอเจริญศิลป์ (ยกเว้นตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า และอำเภออากาศอำนวย (ยกเว้นตำบลบะหว้าและตำบลโพนแพง)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอเต่างอย และอำเภอภูพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกุดบาก, อำเภอนิคมน้ำอูน, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภอพังโคน และอำเภอส่องดาว
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสว่างแดนดินและอำเภอเจริญศิลป์
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอวานรนิวาสและอำเภอบ้านม่วง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคำตากล้า, อำเภออากาศอำนวย และอำเภอพรรณานิคม
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร (ยกเว้นตำบลโนนหอม ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย ตำบลโคกก่อง และตำบลหนองลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอเต่างอย และอำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลโนนหอม ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย และตำบลโคกก่อง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออากาศอำนวย, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลหนองลาด) และอำเภอวานรนิวาส (เฉพาะตำบลนาซอ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอภูพาน, อำเภอกุดบาก, อำเภอนิคมน้ำอูน, อำเภอวาริชภูมิ และอำเภอส่องดาว (ยกเว้นตำบลท่าศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสว่างแดนดินและอำเภอส่องดาว (เฉพาะตำบลท่าศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพังโคน, อำเภอเจริญศิลป์ และอำเภอวานรนิวาส (เฉพาะตำบลธาตุ ตำบลคอนสวรรค์ ตำบลศรีวิชัย ตำบลเดื่อศรีคันไชย ตำบลหนองสนม และตำบลขัวก่าย)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า และอำเภอวานรนิวาส (เฉพาะตำบลนาคำ ตำบลวานรนิวาส ตำบลหนองแวงใต้ ตำบลหนองแวง ตำบลกุดเรือคำ ตำบลคูสะคาม และตำบลอินทร์แปลง)
7 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 หลวงวรนิติปรีชา (วรดี พรหมสาขา ณ สกลนคร)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเตียง ศิริขันธ์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481

ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489[แก้]

เขต มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเตียง ศิริขันธ์ นายประสิทธิ์ บุญญารมย์
2 นายทองปาน วงศ์สง่า

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเจียม ศิริขันธ์
พ.ศ. 2492 นายเตียง ศิริขันธ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495[แก้]

ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 หลวงปริวรรตวรวิจิตร
2 นายเตียง ศิริขันธ์

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512[แก้]

      พรรคเสรีประชาธิปไตย
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
นายดาบชัย อัคราช ร้อยตรี ประทีป ศิริขันธ์ นายโบแดง จันตะเสน
นายวิกรานต์ โสตถิสวัสดิ์ นายครอง จันดาวงศ์ นายประชา ตงศิริ
นายทองปาน วงศ์สง่า นายทองปาน วงศ์สง่า นายสถาปน์ ศิริขันธ์

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519[แก้]

      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 ว่าที่ร้อยตรี สะเทื้อน ตุละวรรณ นายบัวใส ศรีสถาน
นายสถาปน์ ศิริขันธ์ พันโท บุญจง รัศมี
2 เรือโท อุทิศ นวลมณี นายประชา ตงศิริ
นายดาบชัย อัคราช

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติประชาชน
      พรรคเสรีธรรม
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นางอนงค์ ตงศิริ
นายดาบชัย อัคราช นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย
นายเสน่ห์ โสรินทร์ นายสถาปน์ ศิริขันธ์
2 พันตรี สีห์พนม วิชิตวรสาร นายองุ่น สุทธิวงศ์
นายดิเรก อัคราช นายจิรมิตร เจียมเจริญอุดมดี

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535[แก้]

      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคก้าวหน้าพรรคเอกภาพ
      พรรคกิจประชาคมพรรคเอกภาพ
      พรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายประทีป นามประกาย นายเสน่ห์ โสรินทร์ นายเฉลิมชัย อุฬารกุล
นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย นายชาญชัย พรหมสาขา ณ สกลนคร นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
นางอนงค์ ตงศิริ นายเอกพร รักความสุข นายเอกพร รักความสุข
2 นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
นายจิรมิตร เจียมเจริญอุดมดี พันตรี สีห์พนม วิชิตวรสาร นายสาคร พรหมภักดี พันตรี สีห์พนม วิชิตวรสาร
นายองุ่น สุทธิวงศ์ นายสุวิชัย เจียมเจริญอุดมดี นายองุ่น สุทธิวงศ์ นายจิรมิตร อุดมธรรมภักดี

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคเสรีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายพนม ลีลาบุตร นายเอกพร รักความสุข
นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย นายเจริญ การุญ
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางสาวมาลีรัตน์ แก้วก่า นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย
2 นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ นายสาคร พรหมภักดี
นายวัชรินทร์ ศรีถาพร
3 นายอวยชัย สุขรัตน์
นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ นายวิรัตน์ ตยางคนนท์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคเสรีธรรมพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
( / เลือกตั้งใหม่)
นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
2 นายเฉลิมชัย อุฬารกุล นายเฉลิมชัย อุฬารกุล
3 นายนริศร ทองธิราช นายเฉลิมชาติ การุญ
4 นายสาคร พรหมภักดี นายสาคร พรหมภักดี
5 นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
6 นายเสรี สาระนันท์
7 นายเกษม อุประ นายเกษม อุประ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายเฉลิมชาติ การุญ ( / เลือกตั้งใหม่)
นายนิยม เวชกามา
นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย
2 นายเสรี สาระนันท์
นายจุมพฏ บุญใหญ่*
3 นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล นางอนุรักษ์ บุญศล (แทนนายพงษ์ศักดิ์)
นายเกษม อุประ
หมายเหตุ :
  1. นายจุมพฏ บุญใหญ่ ภายหลังมีสถานะ "ไม่สังกัดพรรค" เนื่องจากเข้าร่วมงานกับพรรคภูมิใจไทยจึงถูกพรรคเพื่อไทยขับออกจากพรรค[2]

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566[แก้]

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
2 นายนิยม เวชกามา นายชาตรี หล้าพรหม
3 นายนริศร ทองธิราช นายพัฒนา สัพโส นางสาวจิรัชยา สัพโส
4 นายพัฒนา สัพโส นางอนุรักษ์ บุญศล นายพัฒนา สัพโส
5 นางอนุรักษ์ บุญศล นางสกุณา สาระนันท์ นายชัยมงคล ไชยรบ
6 นายเสรี สาระนันท์ นายเกษม อุประ นางสกุณา สาระนันท์
7 นายเกษม อุประ ยุบเขต 7 นายเกษม อุประ

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. "ศาลรธน.วินิจฉัย 'จุมพฏ-ปรพล' พ้นส.ส.เพื่อไทย". www.thairath.co.th. 2011-04-27.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]