สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดลพบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดลพบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายสว่าง ศรีวิโรจน์[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล และอำเภอบ้านหมี่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม และอำเภอท่าวุ้ง
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม และอำเภอท่าวุ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอบ้านหมี่ และกิ่งอำเภอท่าหลวง
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม และอำเภอท่าวุ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอบ้านหมี่, กิ่งอำเภอท่าหลวง และกิ่งอำเภอสระโบสถ์
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, กิ่งอำเภอท่าหลวง และกิ่งอำเภอสระโบสถ์
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, กิ่งอำเภอท่าหลวง และกิ่งอำเภอโคกเจริญ
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอท่าหลวง, กิ่งอำเภอโคกเจริญ, กิ่งอำเภอหนองม่วง และกิ่งอำเภอลำสนธิ
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอท่าหลวง, อำเภอโคกเจริญ, กิ่งอำเภอหนองม่วง และกิ่งอำเภอลำสนธิ
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (ยกเว้นตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลเขาสามยอด และตำบลบางขันหมาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา และตำบลเขาสามยอด)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลบางขันหมาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอหนองม่วง, อำเภอสระโบสถ์ และอำเภอโคกเจริญ (เฉพาะตำบลโคกเจริญและตำบลโคกแสมสาร)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชัยบาดาล, อำเภอท่าหลวง, อำเภอลำสนธิ และอำเภอโคกเจริญ (ยกเว้นตำบลโคกเจริญและตำบลโคกแสมสาร)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอท่าหลวง, อำเภอโคกเจริญ, อำเภอหนองม่วง และอำเภอลำสนธิ
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (ยกเว้นตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอหนองม่วง, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอโคกเจริญ และอำเภอชัยบาดาล [(เฉพาะตำบลศิลาทิพย์ ตำบลม่วงค่อม ตำบลมะกอกหวาน ตำบลบ้านใหม่สามัคคี ตำบลเขาแหลม และตำบลชัยนารายณ์ (นอกเขตเทศบาลตำบลลำนารายณ์)]
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าหลวง, อำเภอลำสนธิ และอำเภอชัยบาดาล [(ยกเว้นตำบลศิลาทิพย์ ตำบลม่วงค่อม ตำบลมะกอกหวาน ตำบลบ้านใหม่สามัคคี ตำบลเขาแหลม และตำบลชัยนารายณ์ (นอกเขตเทศบาลตำบลลำนารายณ์)]
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (ยกเว้นตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองม่วง, อำเภอโคกสำโรง และอำเภอพัฒนานิคม
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโคกเจริญ, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอท่าหลวง และอำเภอลำสนธิ
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลถนนใหญ่ ตำบลท่าแค ตำบลโคกกะเทียม ตำบลบางขันหมาก ตำบลพรหมมาสตร์ ตำบลโพธิ์เก้าต้น ตำบลโคกลำพาน ตำบลป่าตาล และตำบลกกโก)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าศาลา ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลโคกตูม และตำบลเขาพระงาม) และอำเภอโคกสำโรง (เฉพาะตำบลห้วยโป่งและตำบลหลุมข้าว)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลโพธิ์ตรุ ตำบลท้ายตลาด ตำบลตะลุง ตำบลดอนโพธิ์ ตำบลโก่งธนู ตำบลงิ้วราย ตำบลสี่คลอง และตำบลบ้านข่อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโคกเจริญ, อำเภอหนองม่วง, อำเภอสระโบสถ์ และอำเภอโคกสำโรง (ยกเว้นตำบลห้วยโป่งและตำบลหลุมข้าว)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชัยบาดาล, อำเภอท่าหลวง และอำเภอลำสนธิ
5 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายสว่าง ศรีวิโรจน์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายแฟ้ม วรพิทยุต
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายสำอางค์ ศรีสวัสดิ์ (เสียชีวิต)
นายประเสริฐ วาสิกสิน (แทนนายสำอางค์)
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายกฤตย์ สงวนวงศ์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายบุญช่วย มาประเสริฐ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายบุญมี ปาร์มวงศ์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายศิริ ภักดีวงศ์

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 พลตรี เฉลิม พงษ์สวัสดิ์ นายบุญช่วย มาประเสริฐ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 พลตรี เฉลิม พงษ์สวัสดิ์ นายบุญมี ปาร์มวงศ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายบุญเจริญ ปิยะสุวรรณ์
2 นายเสรี แพทย์ศรีวงษ์
3 นายบุญช่วย มาประเสริฐ

ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526[แก้]

      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคพลังใหม่
      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายนิยม วรปัญญา นายบุญมี ปาร์มวงศ์ นายประเสริฐ สายพิมพ์ นายเฉลิมชัย ทองตันไตรย์
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายนิยม วรปัญญา นายธีระ ปิยะสุวรรณ์ นายเฉลิมชัย เล็กชม นายนิกร นนทวงศ์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายสวัสดิ์ วงศ์กวี นายบัญญัติ วงษ์ประยูร นายธีระ ปิยะสุวรรณ์ นายโอภาส พลศิลป
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายสวัสดิ์ วงศ์กวี นายกมล จิระพันธุ์วาณิช นายนิยม วรปัญญา

ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539[แก้]

      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคชาติไทย
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคนำไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 พลเอก เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ นายกมล จิระพันธุ์วาณิช พลโท เอนก บุนยถี นายนิยม วรปัญญา นายโอภาส พลศิลป
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายเชาวน์วัศ สุดลาภา
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายรัศมี วรรณิสสร นายสวัสดิ์ วงศ์กวี นายเชาวน์วัศ สุดลาภา
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายนิพนธ์ ธาราภูมิ นายบุญทรง วงศ์กวี
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายนิพนธ์ ธาราภูมิ นายอุบลศักดิ์ บัวหลวงงาม พลตำรวจเอก บุญชู วังกานนท์
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายนิพนธ์ ธาราภูมิ นายกมล จิระพันธุ์วาณิช นายอำนวย คลังผา

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
2 นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา
3 นายกมล จิระพันธุ์วาณิช นายสุชาติ ลายน้ำเงิน
4 นายอำนวย คลังผา
5 นายนิยม วรปัญญา

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นางสาวมัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช
(แทนนายกมล)
นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
นายสุชาติ ลายน้ำเงิน
2 นายอำนวย คลังผา
นายนิยม วรปัญญา

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายพิชัย เกียรติวินัยสกุล นายประทวน สุทธิอำนวยเดช
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
2 นางสาวมัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช
3 นายอำนวย คลังผา นายอุบลศักดิ์ บัวหลวงงาม
4 นายเกียรติ เหลืองขจรวิทย์ นายเกียรติ เหลืองขจรวิทย์
นายพหล วรปัญญา
(แทนนายเกียรติ)

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566[แก้]

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคก้าวไกล
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสิทธิชัย หล่อประสงค์สุข
2 นายสาธิต ทวีผล
3 นางสาวมัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช
4 นายนรินทร์ คลังผา
5 นายวรวงศ์ วรปัญญา

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]