สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสงขลา
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต9
คะแนนเสียง322,740 (ประชาธิปัตย์)
132,561 (ภูมิใจไทย)
109,514 (พลังประชารัฐ)
89,058 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาธิปัตย์ (6)
ภูมิใจไทย (1)
พลังประชารัฐ (1)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสงขลามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเจือ ศรียาภัย[1]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอระโนด และอำเภอกำแพงเพ็ชร์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอระโนด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอเทพา และอำเภอรัตภูมิ
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา และอำเภอระโนด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี และอำเภอสะบ้าย้อย
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา, อำเภอระโนด และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา, อำเภอระโนด และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอนาทวี, อำเภอสะบ้าย้อย และกิ่งอำเภอนาหม่อม
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, กิ่งอำเภอกระแสสินธุ์ และกิ่งอำเภอควนเนียง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และกิ่งอำเภอบางกล่ำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, กิ่งอำเภอกระแสสินธุ์, กิ่งอำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอสิงหนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และกิ่งอำเภอบางกล่ำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และกิ่งอำเภอบางกล่ำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม, กิ่งอำเภอบางกล่ำ และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอสิงหนคร, อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอจะนะ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอนาหม่อม, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลหาดใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหาดใหญ่ (ยกเว้นตำบลหาดใหญ่และตำบลทุ่งตำเสา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์ และอำเภอสทิงพระ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง, อำเภอบางกล่ำ และอำเภอรัตภูมิ (เฉพาะตำบลควนรูและตำบลคูหาใต้)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคลองหอยโข่ง, อำเภอรัตภูมิ (ยกเว้นตำบลควนรูและตำบลคูหาใต้), อำเภอสะเดา (ยกเว้นตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม) และอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลทุ่งตำเสา)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสะบ้าย้อย, อำเภอนาทวี, อำเภอสะเดา (เฉพาะตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม), และอำเภอเทพา (เฉพาะตำบลลำไพล)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนาหม่อม, อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา (ยกเว้นตำบลลำไพล)
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอสทิงพระ, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอระโนด, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอควนเนียง และอำเภอสิงหนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา และอำเภอคลองหอยโข่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาหม่อม, อำเภอนาทวี, อำเภอสะบ้าย้อย, อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลหาดใหญ่ ตำบลคลองแห และตำบลคลองอู่ตะเภา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาหม่อมและอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคูเต่า ตำบลน้ำน้อย ตำบลท่าข้าม ตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลคอหงส์ ตำบลควนลัง ตำบลทุ่งตำเสา และตำบลฉลุง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลบางเขียด ตำบลม่วงงาม ตำบลวัดขนุน ตำบลรำแดง และตำบลชะแล้)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอรัตภูมิ, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอควนเนียง และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลปากรอ ตำบลป่าขาด ตำบลทำนบ ตำบลชิงโค ตำบลหัวเขา และตำบลสทิงหม้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคลองหอยโข่ง, อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลบ้านพรุและตำบลพะตง) และอำเภอสะเดา (ยกเว้นตำบลสำนักแต้วและตำบลสำนักขาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสะบ้าย้อย, อำเภอนาทวี และอำเภอสะเดา (เฉพาะตำบลสำนักแต้วและตำบลสำนักขาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอจะนะและอำเภอเทพา
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคลองอู่ตะเภาและตำบลหาดใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาหม่อม, อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ ตำบลคอหงส์ ตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลท่าข้าม และตำบลน้ำน้อย) และอำเภอจะนะ (เฉพาะตำบลจะโหนงและตำบลคลองเปียะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลบางเขียด ตำบลม่วงงาม ตำบลวัดขนุน ตำบลรำแดง และตำบลชะแล้)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอรัตภูมิ, อำเภอควนเนียง และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลปากรอ ตำบลป่าขาด ตำบลทำนบ ตำบลชิงโค ตำบลสทิงหม้อ และตำบลหัวเขา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคลองหอยโข่งและอำเภอสะเดา
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอนาทวี, อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา (เฉพาะตำบลลำไพล)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเทพา (ยกเว้นตำบลลำไพล) และอำเภอจะนะ (ยกเว้นตำบลจะโหนงและตำบลคลองเปียะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบางกล่ำและอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคูเต่า ตำบลคลองแห ตำบลควนลัง ตำบลทุ่งตำเสา และตำบลฉลุง)
9 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476[แก้]

ชุดที่ 1
พ.ศ. 2476
[2]
นายเจือ ศรียาภัย

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489[แก้]

      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเอื้อน ณ สงขลา นายเธียร วิปุลากร นายนิสสัย โรจนะหัสดิน นายเจียร ศิริรักษ์
2 นายกล่อม สระโพธิกุล
นายเจือ ศรียาภัย (แทน)*
พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ) นายคล้าย ละอองมณี นายเช็งจือ ลือประเสริฐ
  • นายกล่อม สระโพธิกุล เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2480

ชุดที่ 5–7 ; พ.ศ. 2491–2495[แก้]

ลำดับ ชุดที่ 5 ชุดที่ 7
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2492
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายคล้าย ละอองมณี นายประสิทธิ์ จุลละเกศ
2 ร้อยตำรวจเอก หวน มุตตาหารัช นายคล้าย ละอองมณี
  • การเลือกตั้ง พ.ศ. 2492 เป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนราษฎรที่เพิ่มขึ้น

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 8
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
ชุดที่ 9
ธันวาคม พ.ศ. 2500
1 ร้อยตำรวจเอก ประณีต กลิ่นโกสุม นายประสิทธิ์ จุลละเกศ
2 นายคล้าย ละอองมณี
3 นายเชื้อ ทิพย์มณี

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10
พ.ศ. 2512
1 จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล
2 นายเชื้อ ทิพย์มณี
3 นายประจวบ ชนะภัย
4 นายคล้าย ละอองมณี

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 11
พ.ศ. 2518
ชุดที่ 12
พ.ศ. 2519
ชุดที่ 13
พ.ศ. 2522
1 นายคล้าย ละอองมณี นายสงบ ทิพย์มณี
นายวิจิตร สุคันธพันธุ์ ร้อยเอก ละเมียน บุณยะมาน นายวีระ สุพัฒนกุล
นายอำนวย สุวรรณคีรี
2 นายไสว พัฒโน นายอุดม แดงโกเมน นายไสว พัฒโน
จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล

ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526[แก้]

      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 14
พ.ศ. 2526
1 พันตำรวจโท เปรม รุจิเรข
นายอำนวย สุวรรณคีรี
นายสงบ ทิพย์มณี
2 จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล
นายไสว พัฒโน
นายนฤชาติ บุญสุวรรณ

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาชนพรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 15
พ.ศ. 2529
ชุดที่ 16
พ.ศ. 2531
ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายอำนวย สุวรรณคีรี นายสุรใจ ศิรินุพงศ์ นายอำนวย สุวรรณคีรี
นายสงบ ทิพย์มณี นายนิพนธ์ บุญญามณี
นายสุรใจ ศิรินุพงศ์ นายนิกร จำนง นายนิกร จำนง นายวินัย เสนเนียม
2 นายไสว พัฒโน
นายนฤชาติ บุญสุวรรณ จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี
นายสมนเล๊าะ โปขะรี นายสะเบต หลีเหร็ม พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19
พ.ศ. 2538
ชุดที่ 20
พ.ศ. 2539
1 นายวินัย เสนเนียม
นายนิพนธ์ บุญญามณี
นายอำนวย สุวรรณคีรี
2 นายไสว พัฒโน นายไพร พัฒโน
นายถาวร เสนเนียม
นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์
นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21[3]
พ.ศ. 2544
ชุดที่ 22[4]
พ.ศ. 2548
1 นายเจือ ราชสีห์
2 นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 นายไพร พัฒโน (ลาออก) นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
นายวิรัตน์ กัลยาศิริ (แทนนายไพร)
4 นายวินัย เสนเนียม
5 นายนิพนธ์ บุญญามณี นายประพร เอกอุรุ
6 นายถาวร เสนเนียม
7 นายศิริโชค โสภา
8 พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ นายนาราชา สุวิทย์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23[5]
พ.ศ. 2550
1 นายประพร เอกอุรุ
นายวินัย เสนเนียม (เสียชีวิต) นายชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว (แทนนายวินัย)
นายเจือ ราชสีห์
2 นายถาวร เสนเนียม
นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 นายศิริโชค โสภา
นายนาราชา สุวิทย์

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24[6]
พ.ศ. 2554
ชุดที่ 25
พ.ศ. 2562
1 นายเจือ ราชสีห์ นายวันชัย ปริญญาศิริ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
2 นายภิรพล ลาภาโรจน์กิจ นายศาสตรา ศรีปาน
(ลาออกจากพรรค/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
3 นายวิรัตน์ กัลยาศิริ นายพยม พรหมเพชร
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
4 นายชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว ร้อยตำรวจเอก อรุณ สวัสดี
5 นายประพร เอกอุรุ นายเดชอิศม์ ขาวทอง
6 นายถาวร เสนเนียม
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายถาวร เสนเนียม
(พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ)
นางสาวสุภาพร กำเนิดผล
(แทนนายถาวร)
7 นายศิริโชค โสภา นายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ
8 พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสรรเพชญ บุญญามณี
2 นายศาสตรา ศรีปาน
3 นายสมยศ พลายด้วง
4 นายชนนพัฒฐ์ นาคสั้ว
5 นายเดชอิศม์ ขาวทอง
6 นางสาวสุภาพร กำเนิดผล
7 นายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ
8 พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่
9 นายศักดิ์สิทธิ์ ขาวทอง

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]