สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดปัตตานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดปัตตานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายแทน วิเศษสมบัติ[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปัตตานี, อำเภอยะหริ่ง, อำเภอปะนาเระ, อำเภอสายบุรี, อำเภอไม้แก่น และอำเภอกะพ้อ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองจิก, อำเภอโคกโพธิ์, อำเภอยะรัง, อำเภอมายอ, อำเภอทุ่งยางแดง และกิ่งอำเภอแม่ลาน
4 คน
(2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปัตตานี, อำเภอยะหริ่ง, อำเภอปะนาเระ, อำเภอสายบุรี, อำเภอไม้แก่น และอำเภอกะพ้อ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองจิก, อำเภอโคกโพธิ์, อำเภอแม่ลาน, อำเภอยะรัง, อำเภอมายอ และอำเภอทุ่งยางแดง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปัตตานี (ยกเว้นตำบลปะกาฮะรังและตำบลปูยุด) และอำเภอยะหริ่ง (ยกเว้นตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ลาน, อำเภอโคกโพธิ์, อำเภอหนองจิก และอำเภอเมืองปัตตานี (เฉพาะตำบลปะกาฮะรังและตำบลปูยุด)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกะพ้อ, อำเภอไม้แก่น, อำเภอสายบุรี, อำเภอปะนาเระ และอำเภอยะหริ่ง (เฉพาะตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอมายอ, อำเภอทุ่งยางแดง และอำเภอยะรัง
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปัตตานี, อำเภอหนองจิก, อำเภอโคกโพธิ์, อำเภอแม่ลาน และอำเภอยะหริ่ง (ยกเว้นตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยะรัง, อำเภอมายอ, อำเภอทุ่งยางแดง, อำเภอกะพ้อ, อำเภอไม้แก่น, อำเภอสายบุรี, อำเภอปะนาเระ และอำเภอยะหริ่ง (เฉพาะตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปัตตานีและอำเภอยะหริ่ง (ยกเว้นตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองจิก, อำเภอโคกโพธิ์ และอำเภอแม่ลาน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกะพ้อ, อำเภอไม้แก่น, อำเภอสายบุรี, อำเภอปะนาเระ และอำเภอยะหริ่ง (เฉพาะตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอมายอ, อำเภอทุ่งยางแดง และอำเภอยะรัง
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปัตตานี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองจิกและอำเภอโคกโพธิ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ลาน, อำเภอยะรัง และอำเภอทุ่งยางแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกะพ้อ, อำเภอสายบุรี, อำเภอไม้แก่น และอำเภอปะนาเระ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอยะหริ่งและอำเภอมายอ
5 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายแทน วิเศษสมบัติ
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 พระพิพิธภักดี (ตนกูมุกดา อับดุลบุตร)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเจริญ สืบแสง
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายจรูญ สืบแสง (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเจริญ สืบแสง
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พระพิพิธภักดี (ตนกูมุกดา อับดุลบุตร)

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายบันเทิง อับดุลบุตร นายอามีน โต๊ะมีนา
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายเจริญ สืบแสง นายอามีน โต๊ะมีนา
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายวิไล เบญจลักษณ์ นายบันเทิง อับดุลบุตร

(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)

ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคเอกภาพ
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายทวีศักดิ์ อับดุลบุตร นายกำธร ลาชโรจน์ นายสุดิน ภูยุทธานนท์
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายเด่น โต๊ะมีนา นายสุรพงษ์ ราชมุกดา นายสุดิน ภูยุทธานนท์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายทวีศักดิ์ อับดุลบุตร นายกำธร ลาชโรจน์ (เสียชีวิต)
นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี (แทนนายกำธร)
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายเด่น โต๊ะมีนา นายทวีศักดิ์ อับดุลบุตร นายเที่ยง เรืองประดิษฐ์
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายเด่น โต๊ะมีนา นายปรีชา บุญมี นายสุดิน ภูยุทธานนท์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายเด่น โต๊ะมีนา นายปรีชา บุญมี นายทวีศักดิ์ อับดุลบุตร
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายเด่น โต๊ะมีนา นายมุข สุไลมาน นายสุดิน ภูยุทธานนท์
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายสุดิน ภูยุทธานนท์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี
นายมะรีเป็ง จะปะกิยา นายเด่น โต๊ะมีนา
2 นายมุข สุไลมาน
นายสุดิน ภูยุทธานนท์ พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี นายอันวาร์ สาและ
2 พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม
3 นายสมมารถ เจ๊ะนา ว่าที่ร้อยตรี โมฮามัดยาสรี ยูซง
4 นายมุข สุไลมาน นายซาตา อาแวกือจิ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายอันวาร์ สาและ
นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม
2 นายนิมุคตาร์ วาบา
นายยุซรี ซูสารอ

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคมาตุภูมิ
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายอันวาร์ สาและ นายอันวาร์ สาและ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
2 นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม นายอับดุลบาซิม อาบู
3 นายอนุมัติ ซูสารอ นายอนุมัติ ซูสารอ
4 นายสมมุติ เบ็ญจลักษณ์ นายสมมุติ เบ็ญจลักษณ์

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566[แก้]

      พรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวรวิทย์ บารู
2 นายคอซีย์ มามุ
3 นายสมมุติ เบ็ญจลักษณ์
4 นายยูนัยดี วาบา
5 นายสาเหะมูหามัด อัลอิดรุส

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]