สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดขอนแก่น
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต11
คะแนนเสียง383,073 (เพื่อไทย)
255,876 (ก้าวไกล)
156,461 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (6)
ก้าวไกล (3)
ภูมิใจไทย (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดขอนแก่น มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 11 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 11 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดขอนแก่นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงพิพัฒน์พลกาย (กระจ่าง วิโรจน์เพชร)

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระลับ, อำเภอภูเวียง และอำเภอน้ำพอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกุดเค้า, อำเภอชนบท และอำเภอพล
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอน้ำพอง, อำเภอชุมแพ และอำเภอภูเวียง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพล, อำเภอบ้านไผ่ และอำเภอมัญจาคีรี
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด
พ.ศ. 2492 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2495 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2500/1 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 7 คน (เขตละ 7 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอบ้านไผ่ และอำเภอกระนวน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชุมแพ, อำเภอสีชมพู, อำเภอภูเวียง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอน้ำพอง และกิ่งอำเภออุบลรัตน์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอมัญจาคีรี, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท และอำเภอแวงน้อย
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอบ้านไผ่, อำเภอกระนวน และกิ่งอำเภอบ้านฝาง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชุมแพ, อำเภอสีชมพู, อำเภอภูเวียง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอน้ำพอง และกิ่งอำเภออุบลรัตน์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอมัญจาคีรี, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท และกิ่งอำเภอแวงน้อย
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอกระนวน, อำเภอน้ำพอง, กิ่งอำเภอพระยืน และกิ่งอำเภอเขาสวนกวาง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองเรือ, อำเภอภูเวียง, อำเภอชุมแพ, อำเภอสีชมพู, กิ่งอำเภอบ้านฝาง และกิ่งอำเภออุบลรัตน์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอมัญจาคีรี, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, กิ่งอำเภอเปือยน้อย และกิ่งอำเภอแวงใหญ่
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอกระนวน, อำเภอน้ำพอง และกิ่งอำเภอเขาสวนกวาง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองเรือ, อำเภอภูเวียง, อำเภอชุมแพ, อำเภอสีชมพู, อำเภอบ้านฝาง, อำเภออุบลรัตน์, กิ่งอำเภอพระยืน และกิ่งอำเภอภูผาม่าน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอมัญจาคีรี, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, กิ่งอำเภอเปือยน้อย และกิ่งอำเภอแวงใหญ่
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอบ้านฝาง และอำเภอมัญจาคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, กิ่งอำเภอพระยืน, กิ่งอำเภอแวงใหญ่ และกิ่งอำเภอเปือยน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูเวียง, อำเภอสีชมพู และกิ่งอำเภอภูผาม่าน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอน้ำพอง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอกระนวน, อำเภอเขาสวนกวาง และอำเภออุบลรัตน์
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอพระยืน และอำเภอมัญจาคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, กิ่งอำเภอแวงใหญ่ และกิ่งอำเภอเปือยน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอน้ำพอง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอกระนวน, อำเภอเขาสวนกวาง และอำเภออุบลรัตน์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูเวียง, อำเภอบ้านฝาง, อำเภอสีชมพู และกิ่งอำเภอภูผาม่าน
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอพระยืน และอำเภอมัญจาคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, อำเภอแวงใหญ่ และกิ่งอำเภอเปือยน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอน้ำพอง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอกระนวน, อำเภอบ้านฝาง, อำเภอเขาสวนกวาง และอำเภออุบลรัตน์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูเวียง, อำเภอสีชมพู และกิ่งอำเภอภูผาม่าน
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอพระยืน, อำเภอมัญจาคีรี และกิ่งอำเภอโคกโพธิ์ไชย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, อำเภอแวงใหญ่, อำเภอเปือยน้อย และกิ่งอำเภอบ้านแฮด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอน้ำพอง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอกระนวน, อำเภอบ้านฝาง, อำเภอเขาสวนกวาง, อำเภออุบลรัตน์ และกิ่งอำเภอซำสูง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูเวียง, อำเภอสีชมพู, อำเภอภูผาม่าน และกิ่งอำเภอหนองนาคำ
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอพระยืน, อำเภอมัญจาคีรี และกิ่งอำเภอโคกโพธิ์ไชย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, อำเภอแวงใหญ่, อำเภอเปือยน้อย, กิ่งอำเภอบ้านแฮด และกิ่งอำเภอโนนศิลา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอน้ำพอง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอกระนวน, อำเภอบ้านฝาง, อำเภอเขาสวนกวาง, อำเภออุบลรัตน์ และกิ่งอำเภอซำสูง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูเวียง, อำเภอสีชมพู, อำเภอภูผาม่าน และกิ่งอำเภอหนองนาคำ
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลพระลับ และตำบลบึงเนียม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองขอนแก่น (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลพระลับ ตำบลบึงเนียม ตำบลโคกสี ตำบลหนองตูม ตำบลโนนท่อน ตำบลบ้านหว้า และตำบลดอนช้าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระนวน, อำเภอน้ำพอง (เฉพาะตำบลพังทุย ตำบลบัวเงิน ตำบลบัวใหญ่ ตำบลบ้านขาม และตำบลทรายมูล), อำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลโคกสีและตำบลหนองตูม) และกิ่งอำเภอซำสูง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขาสวนกวาง, อำเภออุบลรัตน์, อำเภอน้ำพอง (ยกเว้นตำบลพังทุย ตำบลบัวเงิน ตำบลบัวใหญ่ ตำบลบ้านขาม และตำบลทรายมูล) และอำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลโนนท่อน)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอมัญจาคีรี, อำเภอพระยืน, อำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลบ้านหว้าและตำบลดอนช้าง), อำเภอบ้านฝาง (เฉพาะตำบลบ้านเหล่า) และกิ่งอำเภอโคกโพธิ์ไชย
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูผาม่าน และอำเภอสีชมพู (เฉพาะตำบลนาจาน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสีชมพู (ยกเว้นตำบลนาจาน), อำเภอภูเวียง (ยกเว้นตำบลกุดขอนแก่น ตำบลสงเปือย และตำบลนาชุมแสง) และกิ่งอำเภอหนองนาคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอหนองเรือ, อำเภอบ้านฝาง (ยกเว้นตำบลบ้านเหล่า), อำเภอภูเวียง (เฉพาะตำบลกุดขอนแก่น ตำบลสงเปือย และตำบลนาชุมแสง)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอแวงใหญ่, อำเภอแวงน้อย, อำเภอพล (ยกเว้นตำบลหัวทุ่ง ตำบลหนองแวงนางเบ้า และตำบลเก่างิ้ว) และอำเภอชนบท (เฉพาะตำบลห้วยแกและตำบลวังแสง)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอเปือยน้อย, อำเภอพล (เฉพาะตำบลหัวทุ่ง ตำบลหนองแวงนางเบ้า และตำบลเก่างิ้ว), อำเภอชนบท (เฉพาะตำบลบ้านแท่นและตำบลปอแดง), อำเภอบ้านไผ่ (เฉพาะตำบลป่าปอ) และกิ่งอำเภอโนนศิลา
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอบ้านไผ่ (ยกเว้นตำบลป่าปอ), อำเภอชนบท (เฉพาะตำบลชนบท ตำบลโนนพยอม ตำบลกุดเพียขอม และตำบลศรีบุญเรือง) และกิ่งอำเภอบ้านแฮด
11 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น, อำเภอมัญจาคีรี และอำเภอบ้านแฮด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอพล, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอชนบท, อำเภอแวงน้อย, อำเภอแวงใหญ่, อำเภอเปือยน้อย, อำเภอโนนศิลา และอำเภอโคกโพธิ์ไชย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอน้ำพอง, อำเภอหนองเรือ, อำเภอกระนวน, อำเภอบ้านฝาง, อำเภอเขาสวนกวาง, อำเภออุบลรัตน์, อำเภอซำสูง และอำเภอพระยืน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูเวียง, อำเภอสีชมพู, อำเภอภูผาม่าน, อำเภอหนองนาคำ และอำเภอเวียงเก่า
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลเมืองเก่า ตำบลบ้านเป็ด และตำบลแดงใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอซำสูงและอำเภอเมืองขอนแก่น (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลเมืองเก่า ตำบลบ้านเป็ด ตำบลแดงใหญ่ ตำบลสาวะถี ตำบลบ้านค้อ ตำบลสำราญ และตำบลโนนท่อน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระนวนและอำเภอน้ำพอง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขาสวนกวาง, อำเภออุบลรัตน์, อำเภอบ้านฝาง และอำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลสาวะถี ตำบลบ้านค้อ ตำบลสำราญ และตำบลโนนท่อน)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอหนองนาคำ, อำเภอภูเวียง, อำเภอเวียงเก่า และอำเภอสีชมพู (ยกเว้นตำบลนาจาน ตำบลซำยาง ตำบลภูห่าน และตำบลหนองแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอชุมแพ, อำเภอภูผาม่าน และอำเภอสีชมพู (เฉพาะตำบลนาจาน ตำบลซำยาง ตำบลภูห่าน และตำบลหนองแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอหนองเรือและอำเภอมัญจาคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพล, อำเภอแวงน้อย, อำเภอแวงใหญ่ และอำเภอโคกโพธิ์ไชย
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอโนนศิลา, อำเภอชนบท และอำเภอเปือยน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอบ้านแฮด และอำเภอพระยืน
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลเมืองเก่า และตำบลบ้านเป็ด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอซำสูงและอำเภอเมืองขอนแก่น (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลเมืองเก่า ตำบลบ้านเป็ด ตำบลแดงใหญ่ ตำบลสาวะถี ตำบลบ้านค้อ ตำบลสำราญ และตำบลโนนท่อน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระนวนและอำเภอน้ำพอง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขาสวนกวาง, อำเภออุบลรัตน์, อำเภอบ้านฝาง และอำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลสาวะถี ตำบลบ้านค้อ ตำบลสำราญ และตำบลโนนท่อน)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอภูเวียง, อำเภอหนองนาคำ, อำเภอเวียงเก่า และอำเภอสีชมพู (ยกเว้นตำบลนาจาน ตำบลซำยาง ตำบลภูห่าน และตำบลหนองแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอภูผาม่าน, อำเภอชุมแพ และอำเภอสีชมพู (เฉพาะตำบลนาจาน ตำบลซำยาง ตำบลภูห่าน และตำบลหนองแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอหนองเรือและอำเภอมัญจาคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอโคกโพธิ์ไชย, อำเภอแวงใหญ่, อำเภอแวงน้อย และอำเภอพล
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอชนบท, อำเภอโนนศิลา, อำเภอหนองสองห้อง และอำเภอเปือยน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอบ้านไผ่, อำเภอบ้านแฮด และอำเภอพระยืน
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลพระลับ และตำบลเมืองเก่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลสาวะถี ตำบลแดงใหญ่ ตำบลบ้านเป็ด ตำบลศิลา ตำบลสำราญ ตำบลบึงเนียม ตำบลโคกสี และตำบลหนองตูม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระนวน, อำเภอซำสูง, อำเภอน้ำพอง (เฉพาะตำบลบ้านขาม ตำบลบัวใหญ่ ตำบลทรายมูล ตำบลบัวเงิน และตำบลพังทุย) และอำเภอเขาสวนกวาง (เฉพาะตำบลคำม่วงและตำบลเขาสวนกวาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภออุบลรัตน์, อำเภอเขาสวนกวาง (ยกเว้นตำบลคำม่วงและตำบลเขาสวนกวาง), อำเภอน้ำพอง (ยกเว้นตำบลบ้านขาม ตำบลบัวใหญ่ ตำบลทรายมูล ตำบลบัวเงิน และตำบลพังทุย) และอำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลโนนท่อนและตำบลบ้านค้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอหนองนาคำ, อำเภอเวียงเก่า, อำเภอภูเวียง (ยกเว้นตำบลกุดขอนแก่นและตำบลหนองกุงเซิน) และอำเภอสีชมพู (ยกเว้นตำบลซำยางและตำบลนาจาน)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอภูผาม่าน, อำเภอชุมแพ และอำเภอสีชมพู (เฉพาะตำบลซำยางและตำบลนาจาน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านฝาง, อำเภอหนองเรือ และอำเภอภูเวียง (เฉพาะตำบลกุดขอนแก่นและตำบลหนองกุงเซิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอมัญจาคีรี, อำเภอพระยืน และอำเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตำบลบ้านทุ่ม ตำบลบ้านหว้า ตำบลดอนช้าง ตำบลท่าพระ และตำบลดอนหัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอแวงใหญ่, อำเภอแวงน้อย และอำเภอพล
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอเปือยน้อย, อำเภอหนองสองห้อง, อำเภอโนนศิลา, อำเภอโคกโพธิ์ไชย และอำเภอชนบท (เฉพาะตำบลวังแสง ตำบลห้วยแก และตำบลปอแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอบ้านแฮด, อำเภอบ้านไผ่ และอำเภอชนบท (ยกเว้นตำบลวังแสง ตำบลห้วยแก และตำบลปอแดง)
11 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476[แก้]

ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
หลวงพิพัฒน์พลกาย (กระจ่าง วิโรจน์เพชร)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489[แก้]

เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายโสภัณ สุภธีระ นายกระจ่าง ตุลารักษ์ ร้อยโท จารุบุตร เรืองสุวรรณ
2 นายผล แสนสระดี ร้อยตำรวจโท เสวตร ชุมแวงวาปิ ร้อยตรี ไฉยา เกตุเลขา
3 นายทิม ภูริพัฒน์

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายทัศน์ กลีบโกมุท
นายโสภัณ สุภธีระ
นายประวัติ จันทนพิมพ์
พ.ศ. 2492 ร้อยโท จารุบุตร เรืองสุวรรณ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495[แก้]

ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 ร้อยโท จารุบุตร เรืองสุวรรณ
2 นายประหยัด เอี่ยมศิลา
3 นายสวัสดิ์ พึ่งตน
4 นายแคล้ว นรปติ

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคเศรษฐกร
      พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค
      พรรคเสรีประชาธิปไตย
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายแคล้ว นรปติ
นายทวีศักดิ์ ตรีพลี
นายเจริญ ปราบณศักดิ์
นายสว่าง ตราชู
นายอินทร์ ประจันตะเสน ร้อยโท จารุบุตร เรืองสุวรรณ

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]

      พรรคแนวร่วม-เศรษฐกร
      พรรคอิสระ
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายแคล้ว นรปติ
2 นายมีเดช วรสีหะ
3 นายสนั่น ธีระศรีโชติ
4 นายวิญญู เสนาวงษ์
5 นายเลิศสิน หงษ์แสงไทย
6 นายสุธน ชื่นสมจิตต์
7 นายสว่าง ตราชู

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519[แก้]

      พรรคแนวร่วมสังคมนิยม
      พรรคพลังใหม่
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคแนวร่วมสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
      พรรคธรรมสังคม
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายแคล้ว นรปติ นายเสรี พงษ์ภิญโญ
นายเจริญ ปราบณศักดิ์ นายสุวัฒน์ วีระเศรษฐกุล
นายวิรัช กมุทมาศ นายแคล้ว นรปติ
2 นายสันติ์ อรุโณทัย ร้อยโท จารุบุตร เรืองสุวรรณ
นายสว่าง ตราชู นายสุธน ชื่นสมจิตต์
นายแถม ดีบุญมี ณ ชุมแพ
3 นายทองปักษ์ เพียงเกษ นายสมชาญ ศรีสองชัย
นายกระแส ชนะวงศ์

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526[แก้]

      พรรคพลังใหม่
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคสังคมประชาธิปไตย
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคประชากรไทย
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายบุญเรือง ถาวรสวัสดิ์ นายแคล้ว นรปติ
นายบุญเกิด พิมพ์วรเมธากุล นายสุวิทย์ คุณกิตติ
นายบุญยง แก้วฝ่ายนอก นายสุทัศน์ ศรีรัตนพรรณ
2 นายสันติ์ อรุโณทัย
นายจันทรา จรรยาคำนึง นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
นายแถม ดีบุญมี ณ ชุมแพ นายแถม ดีบุญมี ณ ชุมแพ
3 นายธำรง ธนะเสนา ร้อยตำรวจเอก สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์
นายสุรศักดิ์ บางปา นายจักรวาล ชาญนุวงศ์
นายอินทร์ ประจันตเสน
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์

ชุดที่ 15; พ.ศ. 2529[แก้]

      พรรคกิจประชาคม
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสหประชาธิปไตย
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายสุทัศน์ ศรีรัตนพรรณ
นายแคล้ว นรปติ (พ้นจากตำแหน่ง)
นายประสม ประคุณศึกษาพันธ์ (แทนนายแคล้ว)
นายสุวัฒน์ วีระเศรษฐกุล
2 ร้อยตำรวจเอก สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์
นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์
นายชวลิต โอสถานุเคราะห์
3 นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
นายคำมี ผาคำ
4 นายสุวิทย์ คุณกิตติ
นายพงส์ สารสิน

ชุดที่ 16–20; พ.ศ. 2531–2539[แก้]

      พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคมวลชน
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)พรรคเอกภาพ
      พรรคกิจประชาคมพรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคพลังธรรม
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคนำไทย
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสุนทร ลีซีทวน นายสุทัศน์ ศรีรัตนพรรณ นายพงษ์ศักดิ์ อินทรพาณิชย์ นายกวี สุภธีระ นายกวี สุภธีระ
นายประสม ประคุณศึกษาพันธ์ นายประสม ประคุณศึกษาพันธ์ นายภูมิ สาระผล นายอำนวย วีรวรรณ นายภูมิ สาระผล
นายอดิศร เพียงเกษ พลเอก พัฒน์ อัคนิบุตร นายอดิศร เพียงเกษ นายอดิศร เพียงเกษ นายอดิศร เพียงเกษ
2 นายชวลิต โอสถานุเคราะห์ นายชวลิต โอสถานุเคราะห์ นายอำนาจ ชนะวงศ์ นายอำนาจ ชนะวงศ์ นายพงศกร อรรณนพพร
นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์ นายสมพร ศรีวงษ์ นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์ นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์
นายสมพร ศรีวงษ์ นายพา อักษรเสือ นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
3 นายสุวิทย์ คุณกิตติ นายสุวิทย์ คุณกิตติ
นายสมศักดิ์ คุณเงิน นายสมศักดิ์ คุณเงิน นายปัญญา ศรีปัญญา นายสมศักดิ์ คุณเงิน นางมุกดา พงษ์สมบัติ
นายพงส์ สารสิน นายประสงค์ ศรีวัฒน์ นายณรงค์เลิศ สุรพล นายปัญญา ศรีปัญญา นายณรงค์เลิศ สุรพล
4 นายทองปาน พรมโสภา นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
นายแถม ดีบุญมี ณ ชุมแพ นายสุเทพ ดีบุญมี ณ ชุมแพ นายสฤต สันติเมทนีดล นางศรีนวล ศรีตรัย นายสุเทพ ดีบุญมี ณ ชุมแพ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พรรคไทยรักไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร
2 นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
3 นายณรงค์เลิศ สุรพล นายจตุพร เจริญเชื้อ
4 นางมุกดา พงษ์สมบัติ
( / เลือกตั้งใหม่)
นางมุกดา พงษ์สมบัติ
5 นายภูมิ สาระผล
6 นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
7 นายสุชาย ศรีสุรพล
8 นายสมศักดิ์ คุณเงิน นายสมศักดิ์ คุณเงิน
9 นายอรรถสิทธิ์ กาญจนสินิทธ์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายอรรถสิทธิ์ กาญจนสินิทธ์
10 นายพงศกร อรรณนพพร นายพงศกร อรรณนพพร
นายศิริชัย ฉัตรชัยพลรัตน์
(แทนนายพงศกร / )
นายพงศกร อรรณนพพร
(แทนนายศิริชัย)
11 นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร
นายภูมิ สาระผล
2 ร้อยโท ปรีชาพล พงษ์พานิช
(พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล[2] / เลือกตั้งใหม่)
นางดวงแข อรรณนพพร
นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย
3 นายนวัธ เตาะเจริญสุข
นายปัญญา ศรีปัญญา
นายจตุพร เจริญเชื้อ
4 นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
นายสุชาย ศรีสุรพล

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐพรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย → พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร นายฐิตินันท์ แสงนาค
2 นายภูมิ สาระผล นายวัฒนา ช่างเหลา
3 นายจตุพร เจริญเชื้อ
4 นางมุกดา พงษ์สมบัติ
5 นายสุชาย ศรีสุรพล นายภาควัต ศรีสุรพล
6 นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ นายสิงหภณ ดีนาง
7 นายนวัธ เตาะเจริญสุข นายนวัธ เตาะเจริญสุข
(พ้นสภาพเนื่องจากถูกจำคุกระหว่างการดำรงตำแหน่ง)
นายสมศักดิ์ คุณเงิน
(แทนนายนวัธ)
8 นางดวงแข อรรณนพพร นางสาวสรัสนันท์ อรรณนพพร
9 ร้อยโท ปรีชาพล พงษ์พานิช นายวันนิวัติ สมบูรณ์
10 นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย นายบัลลังก์ อรรณนพพร

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566[แก้]

      พรรคก้าวไกล
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวีรนันท์ ฮวดศรี
2 นายอิทธิพล ชลธราศิริ
3 นายชัชวาล อภิรักษ์มั่นคง
4 นายเอกราช ช่างเหลา
5 นายภาควัต ศรีสุรพล
6 นายสิงหภณ ดีนาง
7 นายสุรพจน์ เตาะเจริญสุข
8 นางสาววิภาณี ภูคำวงศ์
9 นางสาวสรัสนันท์ อรรณนพพร
10 นายวันนิวัติ สมบูรณ์
11 นายองอาจ ฉัตรชัยพลรัตน์

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. ไทยรัฐออนไลน์ (3 Feb 2010). "6ส.ส.พ้นสภาพ ศาลตัดสิทธิ์ ถือครองหุ้นผิด". thairath. สืบค้นเมื่อ 1 Apr 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]